เทคโนโลยีการผลิตกัญชง กัญชา กระท่อม และผลิตภัณฑ์

Hemp-Cannabis and Kratom Production Technology and Their Products

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. จำแนก อธิบาย สรุป กำหนดนิยามความรู้หลักการในรายวิชา 2. นำความรู้ ทักษะในรายวิชาไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิต 3. วิเคราะห์ และจัดระบบความรู้ 4. จำแนก วิเคราะห์ข้อมูล พิสูจน์ เปรียบเทียบ บอกความเปลี่ยนแปลง ตรวจสอบ จำแนกความแตกต่าง
-
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของกัญชง กัญชา และกระท่อม ประวัติความเป็นมา สรรพคุณทางการแพทย์ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การขออนุญาตผลิตกัญชง กัญชาและกระท่อม การปลูก การขยายพันธุ์ การปรับปรุงพันธุ์ การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลิตภัณฑ์ และการจำหน่าย
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่าง ๆ 2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ 3. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง  ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ  การมีวินัยเรื่องเวลา การเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดง
1. ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในโอกาสที่สาขา/คณะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส และอาจารย์    2. การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน และ การส่งรายงาน 3. ประเมินการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น โดยนักศีกษาอื่น ๆ ในรายวิชา 4. นักศึกษาประเมินตนเอง
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 
1. ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยาย ร่วมกับการสื่อสารสองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม  การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต  เป็นต้น 2. เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ
1. การสอบกลางภาค และสอบปลายภาค 2. ทำรายงานรายบุคคล
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ  แก้ไข
1. การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) 2. ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไข
1. ประเมินจากการตอบปัญหาและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม 2. รายงานกลุ่ม 3. การสอบข้อเขียนกลางภาค และปลายภาค
1.  มีมนุษสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
1. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่นและบุคคลภายนอก 2. มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่น โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
1. ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 2. ประเมินความรับผิดชอบจากรายงานของนักศึกษา 3. ให้นักศึกษาประเมินสมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและด้านความรับผิดชอบ 4. ให้นักศึกษาประเมินนักศึกษาอื่น ๆ ในรายวิชา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 
 
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
1. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล 3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  แก้ไข
1. ประเมินทักษะการใช้ภาษาเขียนจากเอกสารรายงาน 2. ประเมินทักษะการใช้สื่อและการใช้ภาษาพูดจากการตอบในชั้นเรียน  แก้ไข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG641 เทคโนโลยีการผลิตกัญชง กัญชา กระท่อม และผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.1, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 30%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.5 การสอบกลางภาค 8 20%
3 1.3, 2.1,2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 การสอบปลายภาค 17 20%
4 1.3, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.3 บทปฏิบัติการ ตลอดภาคการศึกษา 30%
พีรพันธ์ ทองเปลว. 2565. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา-เทคโนโลยีการผลิตกัญชง กัญชา กระท่อม และผลิตภัณฑ์ (BSCAG641). สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก. 
กรมวิชาการเกษตร. 2564. คู่มือสำหรับเกษตรกร การผลิตพืชสกุลกัญชา เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์และอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการเกษตร.
วีรชัย ณ นคร. 2564. กัญชง (กัญชา) ความรู้เบื้องต้น: ชีววิทยาและเทคนิคการปลูก. เชียงใหม่: สมาคมพฤกษศาสตร์ในพระราชินูปถัมภ์.
 
กรกนก อิงคนินันท์, ปณัฐพงศ์ บุญนวล, สุดาพร วงศ์วาร, อรระวี คงสมบัติ, พรนรินทร์ เทพาวราพฤกษ์, เนติ วรนุช, เพ็ญศรี เจริญสิทธิ์, วุฒิชัย วิสุทธิพรต, มนุพัศ โลหิตนาวี และพีรศักดิ์ ฉายประสาท. 2563. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การวิจัยและพัฒนากัญชงเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2544. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9, กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
จีราภรณ์ อินทสาร. 2557. ความอุดมสมบูรณ์ของดิน Soil Fertility. เชียงใหม่: ดีพรินท์.
ราชกิจจานุเบกษา. 2563. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 พุทธศักราช 2563. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF /2563/E/290/T_0033.PDF
ราชกิจจานุเบกษา. 2564. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การใช้กัญชงในเครื่องสำอาง พ.ศ. 2563. เล่ม 138 ตอนพิเศษ 8 ราชกิจจานุเบกษา, 11 มกราคม 2564 หน้าที่ 21.
ลิลลี่ กาวีต๊ะ. 2559. โครงสร้างพืช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สริตา ปิ่นมณี, สายพันธุ์ กาบใบ, รัตญา ยานะพันธุ์, ศักดิ์ศิริ คุปตรัตน์, ประภัสสร ทิพย์รัตน์ และอาลักษณ์ ทิพยรัตน์. 2563. รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการย่อยที่ 1 การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์เฮมพ์และระบบผลิตเมล็ดพันธุ์. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน).
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา  แก้ไข
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน-การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนา ในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุง พร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป