เทอร์โมฟูอิดเบื้องต้น

Introduction to Thermo-Fluid

เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว นักศึกษาสามารถวิเคราะห์กลศาสตร์ของไหลเกี่ยวกับความดันในของเหลว ความตึงผิว ความหนืดและพลศาสตร์ของของไหล สมบัติของของแข็งและของเหลว การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน การเปลี่ยนสถานะ การถ่ายโอนความร้อน การนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อน สมบัติของแก๊สอุดมคติ แบบจำลองแก๊ส สมบัติเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความดันและปริมาตร ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ พลังงานภายในระบบ กฎข้อที่ศูนย์และหนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์
เพื่อเพิ่มเติมสื่อการเรียนการสอนให้เข้ากับตำราเรียนที่มีตัวอย่างที่ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในเรื่องหลักการหรือแนวคิดของวิชาเทอร์โมฟูอิดเบื้องต้นซึ่งเป็นพื้นฐานวิชาทางวิศวกรรมเพื่อนำไปใช้ในการเรียนวิชาที่เกี่ยวข้องโดยสามารถนำไปปรับและประยุกต์ได้จริง
ศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหลเกี่ยวกับความดันในของเหลว ความตึงผิว ความหนืดและพลศาสตร์ของของไหล สมบัติของของแข็งและของเหลว การขยายตัวของวัตถุเนื่องจากความร้อน การเปลี่ยนสถานะ การถ่ายโอนความร้อน การนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อน สมบัติของแก๊สอุดมคติ แบบจำลองแก๊ส สมบัติเกี่ยวกับอุณหภูมิ ความดันและปริมาตร ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ พลังงานภายในระบบ กฎข้อที่ศูนย์และหนึ่งของเทอร์โมไดนามิกส์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ตระหนักในคุณธรรม  จริยธรรม  และความซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย เคารพกฎ ระเบียบ และกติกาต่างๆที่ดีงามของสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม
1. สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
2.  กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฏระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3.  มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
1. ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
2. สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกายและตรงต่อเวลา
3. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญตามลักษณะรายวิชาเทอร์โมฟูอิดเบื้องต้น และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอยู่เสมอ
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป และเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1. ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
2. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สามารถนำความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญทางเทอร์โมฟูอิดเบื้องต้นมาใช้แก้ปัญหาโดยกระบวนการทางวิศวกรรมศาสตร์
1. มอบหมายงานให้ค้นคว้าและนำเสนอ
2. การอภิปรายกลุ่ม
3. มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
4. มีแบบฝึกหัดให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาในรูปแบบต่างๆ
1. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอ
2. ประเมินผลจากการตอบคำถาม การสอบ การวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน
2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานกลุ่ม
3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล
3. การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
1. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียนใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
3. พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1. มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น
2. มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
3. การนำเสนอโดยใช้รูปแบบ  เครื่องมือ  และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
2. ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1 และ 2.3, 3.2 สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 9 และ 18 35% และ 35%
2 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 - วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน - การทำงานกลุ่มและผลงาน - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.3, 1.4, 2.1, 2.2 - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ภูมิใจ สอาดโฉม, เทอร์โมฟลูอิดส์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก, ตาก, 2564.
2.1  มนตรี พิรุณเกษตร, อุณหพลศาสตร์ 1, พิมพ์ครั้งที่ 2, วิทยพัฒน์, กรุงเทพฯ, 2539.
2.2  มนตรี พิรุณเกษตร, อุณหพลศาสตร์ 2, วิทยพัฒน์, กรุงเทพฯ, 2540.
2.3  มนตรี พิรุณเกษตร, กลศาสตร์ของไหล, พิมพ์ครั้งที่ 4, วิทยพัฒน์, กรุงเทพฯ, 2550.
ตำราหรือเอกสาร และเว็บไซต์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้ร่วมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดประชุมเพื่อปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนหรือทำการวิจัย
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย