การเขียนภาพประกอบงาน

Illustration

เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และทักษะ ในการนำเสนอภาพประกอบบนสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ด้วยเทคนิคต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำเสนองานที่เป็นรูปแบบออนไลน์ ด้วยเทคนิคต่างๆ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การแสดงแบบในการนำเสนองาน แบบผัง รูปด้าน รูปตัด ทัศนียภาพ และหุ่นจำลอง ด้วยเทคนิคต่างๆ
อาจารย์ประจำรายวิชาจัดช่วงเวลาให้คำปรึกษาเกี่ยวรายวิชาที่สอนสัปดาห์ละ  2 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการ เป็นผู้มีความรัก เมตตา และปรารถนาดีต่อผู้อื่น มีความอดทนและความรับผิดชอบมีความซื่อสัตย์ในการเรียน โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ - ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต - มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม - สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ - บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการงานประยุกต์ศิลปะไทย อย่างชาญฉลาด - อภิปรายกลุ่ม - กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาพประกอบในงานต่างตามเนื้อหา 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม - พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา - มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม - ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
-บรรยายสอดแทรกเกี่ยวกับ การคำนึงถึงคุณธรรมจริยธรรมในงานออกแบบ หรือกฎหมายลิขสิทธิ์ในการนำภาพประกอบมาประยุกต์ใช้ในสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
-การคำนึงถึงความถูกต้อง เหมาะสมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะประจำชาติต่างๆ เป็นต้น
-กฎหมายลิขสิทธิ์ในการนำเครื่องหมายการค้า หรือ ภาพประกอบมาประยุกต์ใช้สร้างสรรค์บนสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
 
-การตรวจสอบการอ้างอิงแหล่งที่มาในงานออกแบบ กรณีที่นำภาพประกอบของผู้อื่นมาใช้ในงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
-การตรวจสอบการคัดลอกเครื่องหมายการค้า หรือภาพประกอบมาใช้ในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ 
 
 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
มีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติ ชนิด ประเภท และความเหมาะสมในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ ตามความถนัด ในการเขียนภาพร่างประกอบงานออกแบบสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ มีจรรยาบรรณ จริยธรรมของผู้เกี่ยวข้องโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
 
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย อภิปราย การทำงานเดี่ยว และงานกลุ่ม การนำเสนอผลงานการเขียนภาพประกอบงานออกแบบสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ และมอบหมายให้ค้นคว้าหาวัสดุ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ โดยวิธี Student Center เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยให้ นักศึกษาเลือกวัสดุอุปกรณืที่แต่ละคนมีความถนัด เช่น การใช้ สีไม้ สีน้ำ สีเมจิก ในการเขียนภาพเพื่อนำเสนองานออกแบบสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
2.3 วิธีการประเมินผล
- งานฝึกทักษะการเขียนภาพประกอบงานในคาบปฏิบัติ ผลการสอบกลางภาค ผลการสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี - นำเสนอสรุป จากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการนำเสนองานออกแบบสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ขั้นตอน และรูปแบบในการเขียนภาพประกอบ เพื่อการเลือกใช้วัสดุในการเขียนภาพประกอบงานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ อย่างสร้างสรรค์
- การมอบหมายงานให้นักศึกษา - ให้นักศึกษานำเสนอผลสรุป ในการศึกษาค้นคว้างานที่มอบหมาย - อภิปรายกลุ่มด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และงามรับผิดชอบ
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์นำเสนอแนวความคิดในการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน - พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม - พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
 
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา รูปแบบบรรจุภัณฑ์ ที่มอบหมาย - มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้ารูปแบบบรรจุภัณฑ์กระดาษ, พลาสติก แบบ Individual Package ว่ามีรูปแบบแตกต่างกันอย่างไร - การนำเสนอรายงาน ในชั้นเรียน
- ประเมินตนเอง และเพื่อน - รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม - รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการ และเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา - พัฒนาทักษะในการสืบค้น ทั้งแหล่งให้ความรู้และข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต - ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงาน จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ - นำเสนอโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี - การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย  
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ที่มอบหมาย - มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้ารูปแบบของสื่อสิ่งพิมพ์ หรือ บรรจุภัณฑ์ประเภทต่างๆ ว่าแตกต่างกันอย่างไร  - การนำเสนอรายงาน ในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2 สอบกลางภาค 9    15% สอบปลายภาค 18  15%
2 1.3,2.1, 2.2,3.1, 3.2,4.3,5.1,5.2 การฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ การปฏิบัติงานโครงงานที่มอบหมาย 1,2,3,4,5,6,7,8,10,11,12, 13,14,15,16,17 60 % 3 1.1-1.7,3.1
การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
** หมายเหตุ : หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2555
** หมายเหตุ : หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2555
** หมายเหตุ : หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2555
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 44012009 การเขียนภาพประกอบงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.6, 1.7, 2.1, 2.4-2.6, 3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 1.3,2.1, 2.2,3.1, 3.2,4.3,5.1,5.2 การฝึกปฏิบัติงานตามใบงานที่กำหนดให้ในแต่ละสัปดาห์ การปฏิบัติงานโครงงานที่มอบหมาย 1,2,3,4,5,6 7,8,10,11,12 13,14,15,16,17 60 %
3 1.1-1.7,3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นใน ชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การเขียนภาพประกอบงานบรรจุภัณฑ์
รอบรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์1
รอบรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์2
การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
Graphic Design Principles
ไม่มี
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการสืบค้นรายวิชา เช่น http://www.asianpackaging.org/main/ http://www.thedieline.com/ http://th.wikipedia.org/wiki/การเขียนแบบทัศนียภาพ http://www.how-to-draw-and-paint.com/perspective-drawing.html http://www.youtube.com/watch?v=FdRHOKhQ1Aw&feature=related
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและ ความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้           - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน           - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน           - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา           - ขอเสนอแนะผ่านเวปบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้           - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน           - ผลการสอบ           - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้           - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน           - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้           - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร           - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้           - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4           - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ