เทคโนโลยีการผลิตพืชไร่อาหาร

Food Field Crops Production Technology

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและการใช้ประโยชน์ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสรีรวิทยาการเจริญเติบโต เทคโนโลยีการปลูกและดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต สภาวการณ์ตลาดและการจำหน่ายของพืชไร่อาหารที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว ฯลฯ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและการใช้ประโยชน์ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสรีรวิทยาการเจริญเติบโต เทคโนโลยีการปลูกและดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต สภาวการณ์ตลาดและการจำหน่ายของพืชไร่อาหารที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว ฯลฯนักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้ 1.1 มีความรู้และทักษะปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ แหล่งปลูก สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เทคโนโลยีการผลิต และการเก็บเกี่ยว การแปรรูป และการตลาดของพืชไร่อาหารเครื่องดื่มที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ 1.2 สามารถนำความรู้และทักษะเกี่ยวกับพืชไร่อุตสาหกรรมเครื่องดื่มไปประยุกต์ไปใช้ในการผลิตพืชไร่ อุตสาหกรรมเครื่องดื่มได้จริง 1.3 มีความสามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถเลือกใช้วิธีการและ เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 1.4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 1.5 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ วิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญและการใช้ประโยชน์ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและสรีรวิทยาการเจริญเติบโต เทคโนโลยีการปลูกและดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจัดการผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยว การแปรรูปผลผลิต สภาวการณ์ตลาดและการจำหน่ายของพืชไร่อาหารที่สำคัญ เช่น ข้าว ข้าวโพด พืชตระกูลถั่ว ฯลฯ
    1 -2  ชั่วโมง/สัปดาห์โดยจะแจ้งให้ทราบในชั่วโมงแรกของการสอน สำหรับเวลาที่นักศึกษาสามารถพบได้ คือ   วันพุธ เวลา 15.00  - 17.00 น. ห้องพักอาจารย์  สาขาพืชศาสตร์     โทร. 0834121508
       E-mail. M.sanawong@yahoo.com ทุกวัน โดยอาจารย์จะตอบเมื่อมีเวลาว่าง
 
 (1) มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติ ในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
 š (2) มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้า ชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความ รับผิดชอบ โดยในการท างานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความ ซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุก คนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในการสอนทุกรายวิชารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดีทำประโยชน์แก่ส่วนรวมและเสียสละ
(1) ประเมินการมีวินัยจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรมที่กำหนด
(2) ประเมินจากความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร
 (3) ประเมินจากความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
 (4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
 (5) ประเมินจากผลงานที่ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่นหรือมีการอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ เพื่อให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน
(6) ประเมินจากพฤติกรรมในการทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกปฏิบัติและการไม่ ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
˜(1) มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพ  ที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
š (2) มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทาง ปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
เรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมี การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ปฏิบัติงานในสถานประกอบการ โดย
1. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) และให้มีการอภิปรายกลุ่ม
2. การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
3. กำหนดให้หาความรู้เพิ่มเติมทางอินเตอร์เน็ตและทำรายงานส่ง
 ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาในด้านต่างๆ คือ
 (1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำและส่งรายงาน
 (4) ประเมินจากแผนงานหรือโครงการที่นำเสนอ
(5) ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียนการมีส่วนร่วมในการอภิปรายกลุ่ม
 
 
š (1) สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
(2) สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์ จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
š (3) ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถ นำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
 
 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
(1) บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหา ข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลาย
(2) การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูลและประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มา หรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
(3) ให้นักศึกษาปฏิบัติจริงเพื่อแก้ไขปัญหาสถานการณ์เฉพาะหน้า 
โดย การสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติการ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น (1) ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 (2) การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า 
(3) การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
โดยการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
š(1) ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่ เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
˜  (2) มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม 
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือ ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้
(1) สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้      
(4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
(5) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (6) สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติ เฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
โดย ให้ทำงานมอบหมายเป็นกลุ่ม
และ ให้มีการนำเสนอข้อมูลของกลุ่มแก่เพื่อนๆ ในชั้นเรียน
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของ ข้อมูล
 
 
(1) มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ใน การอ่าน พูด ฟัง และเขียน
š (2) มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ   
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน  ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง สถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่ เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลาย สถานการณ์
โดยการแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลการมอบหมายงานให้จัดทำรายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและนำเสนอผลงาน
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยี สารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล
 (2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย (3) การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
 โดย ประเมินจากทักษะการเขียน การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ จากการอ่านและการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต และการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ที่เรียน ยกเว้นสัปดาห์ที่มีการสอบ 15 %
2 การทดสอบย่อย ก่อน และหลังสอนแต่ละหน่วยเรียน 15 %
3 การสอบกลางภาค 8หรือ9 20 %
4 ผลการปฏิบัติงาน การนำเสนอผลการปฏิบัติงาน/การรายงาน 30%
5 การสอบปลายภาค 20 %
วาสนา วงษ์ใหญ่ อุดม พูลเกษ รังสฤษฎ์ กาวีต๊ะ และ วิทยา แสงแก้วสุข. ๒๕๔๑. พฤกษศาสตร์พืชเศรษฐกิจ. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ๒๒๐ น. วันชัย จันทร์ประเสริฐ. ๒๕๔๒. เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์พืชไร่. ภาควิชาพืช ไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. ๒๗๖ น.
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
http:///www.doa.go.th http:///www.doae.go.th http://kanchanapisek.or.th http://www.ricethailand.go.th/rkb/index.htm - การใช้โปรแกรม Word Excel Power point เพื่อทำงานมอบหมาย - การใช้งานอินเตอร์เน็ต (internet) เพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ
http:///www.doa.go.th http:///www.doae.go.th http://kanchanapisek.or.th http://www.ricethailand.go.th/rkb/index.htm - การใช้โปรแกรม Word Excel Power point เพื่อทำงานมอบหมาย - การใช้งานอินเตอร์เน็ต (internet) เพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ
http:///www.doa.go.th http:///www.doae.go.th http://kanchanapisek.or.th http://www.ricethailand.go.th/rkb/index.htm - การใช้โปรแกรม Word Excel Power point เพื่อทำงานมอบหมาย - การใช้งานอินเตอร์เน็ต (internet) เพื่อการค้นคว้าทางวิชาการ
    ให้ผู้เรียนประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบความรู้ทักษะก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้ และมีระบบการประเมินรายวิชาโดยให้ผู้เรียนประเมินและแสดงความเห็นผ่านการประเมินรายวิชาทางระบบอินเตอร์เน็ต
 
       อาจารย์ผู้สอนดำเนินการ โดยการสังเกต การดูผลการปฏิบัติงาน การตรวจรายงาน และการสอบกลางภาค และสอบปลายภาค โดยพิจารณาจากความสนใจ ความเข้าใจ และผลการเรียนของนักศึกษา
 
      อาจารย์ผู้สอนวิชาประเมินการสอนด้วยตนเอง ด้วยการสังเกต การพิจารณาผลการเรียนและการสอบของนักศึกษา จัดทำรายงานประเมินตนเองเมื่อสิ้นภาคการศึกษาเสนอหัวหน้าสาขา
สาขาวิชามีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินการสอน ข้อสอบ และความเหมาะสมของการให้คะแนน
       สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และผลการประเมินโดยคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษามาพิจารณาร่วมกันในที่ประชุมคณะกรรมการหลักสูตร