การสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ

Creative Textile Art

1.1  รู้เกี่ยวกับการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ   1.2  เข้าใจเทคนิคการสร้างสรรค์   1.3 เข้าใจวิธีการสร้างสรรค์   1.4 เข้าใจการนำเสนอผลงานและการนำผลงานศิลปะสิ่งทอไปใช้ในเชิงพาณิชย์ 1.5 มีทักษะในการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ  
เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ เทคนิค  วิธีการสร้างสรรค์  การนำเสนอผลงานและการนำผลงานศิลปะสิ่งทอไปใช้ในเชิงพาณิชย์ให้สอดคล้องกับการสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบและในทางศิลปะที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ เทคนิค วิธีการสร้างสรรค์ การนำเสนอผลงานและการนำผลงานศิลปะสิ่งทอไปใช้ในเชิงพาณิชย์
Practice designing and creating of textiles art, techniques for creating textile art, making creative in textile art and textile art applied.
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งเวลาในการให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน  
-     อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1   ให้ความสำคัญในระเบียบวินัยการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อ  ตนเองการส่งงานตรงเวลา  ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นตามระเบียบที่เป็นตาม
ระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.2   บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา ทัศนคติที่เปิดกว้าง รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบและสังคม
1.2.3    มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายบุคคล
1.3.1    การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม  (ด้วยระบบออนไลน์และการเรียนในชั้นเรียน)
1.3.2   ความซื่อสัตว์สุจริตวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย  และการสอบ
1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการเรียนการทำงานรายบุคคล
2.1.1  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.2  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.1   ใช้วิธีการสอน ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงานสร้างสรรค์และใบงาน บรรยาย เพื่อให้เกิด
          องค์ความรู้การเทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์ (ด้วยระบบออนไลน์และการ เรียนในชั้นเรียน)
 
2.2.2  ให้นักศึกษาปฏิบัติการการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอโดยนำหลักการทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้งานศิลปะสิ่งทอไปใช้ในเชิงพาณิชย์ จากบริบททางสังคม ภูมิ
          ปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.3  มอบหมายงานศึกษาค้นคว้ารายบุคคล
2.3.1  การสอบกลางภาคเรียน(ด้วยรูปแบบออนไลน์)  และปลายภาคเรียน  (การจัดการเรียนเต็มเวลา)
2.3.2  ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติและการนำเสนอผลงานรูปแบบออนไลน์และในชั้นเรียน
           3.1.1 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
           3.1.2  มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1   ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลตำรา เอกสารและสื่อสังคมกับการเรียนการสอนสร้างแนวความคิดที่ใช้ในการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ    (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)  
3.2.2   มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์และประมวลผลการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอและสรุปผล การนำเสนองาน โดยอภิปรายรายบุคคลร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานการคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานและการนำผลงานศิลปะสิ่งทอไปใช้ในเชิงพาณิชย์
4.1.1   มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1  จัดกิจกรรมการแสดงความคิดเห็น  รับฟังและการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการ
จัดการเรียนเต็มเวลา)
4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.3.1 ประเมินจากการร่วมจัดกิจกรรม และการรายงานผลของการจัดกิจกรรม
4.3.2 พิจารณาจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองานของตนเองและวิจารณ์ผลงาน  การเข้าร่วมกิจกรรม ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกของนักศึกษาเป็นระยะ
5.1.1  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้เทคนิคและวิธารประยุกต์การแนวความคิดการออกแบบและสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ  ทั้งยังสามารถการนำเสนอผลงานด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
5.2.2  นักศึกษาสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์
5.3.2 ประเมินจากการเลือกใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ และแก้ปัญหาที่เหมาะสม
6.1.1  มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1  บรรยายและสาธิตการปฏิบัติ ผลงานการออกแบบสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ ตาม แนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง  (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)  
6.2.2  ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบขั้นตอนการสร้างสรรค์ผลงาน
6.3.1  ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย
6.3.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ131 การสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ (ออนไลน์) สัปดาห์ 1-8 20%
3 3.1.1,3.1.2 การปฏิบัติงานและผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะสิ่งทอ ความสามารถในการวิเคราะห์งาน ผลงานการศึกษาค้นคว้า พฤติกรรมการเลือกใช้เทคโนโลยีเพื่อการสืบค้น รวมถึงการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (การจัดการเรียนเต็มเวลาในชั้นเรียน) สัปดาห์ 10-16 30%
4 5.1.1, 6.1.1 การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 1.1.1, 4.2.1,4.2.2 การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม และผลการทำงาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์,2556. การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย.
2.  ดนต์ รัตนทัศนีย์.  เอกสารประกอบการสอนรายวิชาขบวนการออกแบบทางศิลปะอุตสาหกรรม  กรุงเทพ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าลาดกระบัง, 2535.
3.  นิรัช  สุดสังข์.  ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.  กรุงเทพมหานคร : สำหนักงานพิมพ์โอเดียนสโตร์,  2548.
4.  พันธพงศ์ ตั้งธีรสุนันท์.  Design Innovation Trend.  กรุงเทพ : สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ, 2549.
5.  พิชิต เลี่ยมพิพัฒน์. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์กระดาษบางปะอิน,  2518 . 6.  มนตรี เลากิตติศักดิ์.  เอกสารประกอบการสอนรายวิชาความรู้สิ่งทอเบื้องต้น.  เชียงใหม่:  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา,  2559.   
7.  วิรุณ ตั้งเจริญ . การออกแบบ . กรุงเทพมหานคร : สำหนักพิมพ์วิณเวลอาร์ต , 2527. 8.  ศิรินทร์ ใจเที่ยง. นิตยสารวัฒนธรรมเสน่ห์ผ้าพื้นเมือง เสนห์ผ้าทอมือ. วารสารรายสามเดือน ปีที่ 51 ฉบับที่ 3 ตุลาคม-ธันวาคม 2555,  2555.
9.  สาคร คันธโชติ . การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ . กรุงเทพมหานคร : สำหนักงานพิมพ์โอเดียนสโตร์ ,2528 .
10.  อรัญ  วานิชกร. แหล่งข้อมูลสำหรับความคิดสร้างสรรค์,  2555.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
 ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
        3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอนและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
         3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน (ด้วยรูปแบบออนไลน์และการจัดการเรียนเต็มเวลา)
       ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียน รู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา