ปฏิบัติการระบบไฟฟ้าและการป้องกัน

Power System and Protection Laboratory

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจหม้อแปลงกระแสการต่อหม้อแปลงกระแสและสามารถต่อหม้อแปลงกระแสได้ 1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหม้อแปลงแรงดัน การต่อหม้อแปลงแรงดันและสามารถต่อหม้อแปลงแรงดันได้ 1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจคุณลักษณะของรีเลย์กระแสชนิดต่างๆ และสามารถนำไปใช้งานได้ 1.4 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจคุณลักษณะของรีเลย์แรงดันและสามารถนำไปใช้งานได้ 1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและสามาถนำไปใช้งานได้ 1.6 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้าและสามาถนำไปใช้งานได้ 1.7 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันบัสบาร์และสามารถนำไปใช้งานได้ 1.8 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันสายส่งและสามารถนำไปใช้งานได้ 1.9 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันมอเตอร์ และสามารถนำไปใช้งานได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและปฏิบัติเกี่ยวกับการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังตามส่วนต่างๆ และสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างมีคุณภาพ
ปฏิบัติการเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนในวิชา ENGEE124 ปฏิบัติการระบบไฟฟ้าและการป้องกัน
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม และจริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
 
แนะนำในห้องเรียน 

อธิบายความหมายข้อดี ข้อเสีย  แนะนำและยกตัวอย่าง อธิบายระเบียบการเข้าชั้นเรียน
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
มีความรู้ความเข้าในด้านการปฏิบัติและ สามารถนำไปปฏิบัติจริงได้
สอนและอธิบายตามรายละเอียดในคำอธิบายรายวิชา ใช้สื่อการสอนเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจได้ดี เช่น ใช้รูปภาพ แผ่นใส ของจริง เป็นต้น เปิดโอกาสให้นักศึกษามีกิจกรรมร่วมกับผู้สอนโดยมีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถามนักศึกษา ให้นักศึกษาต่อวงจรการทดลองด้วยตนเอง
ตรวจใบงานภาคปฏิบัติ ตรวจงานที่นักศึกษาปฏิบัติ สอบภาคปฏิบัติปลายภาคการศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ
มอบหมายโครงงานให้นักศึกษาทำ
ตรวจสอบโครงงานของนักศึกษา
 
มีมนุษย์สัมพันธ์ และมารยาทสัมคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถทำงานเป็นกลุ่มได้
1.แนะนำในห้องเรียน 2.มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มอย่างชัดเจน
1. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา   2. ตรวจสอบงานที่ทำและสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา
ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข ทักษะในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข ทักษะในการค้นหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1. ตรวจสอบงานคิดคำนวณเชิงตัวเลขที่ได้มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ 2. ตรวจสอบงานที่ได้ให้นักศึกษาหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1. มีทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน 2. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1. มีการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย 2. สร้างทักษะในการปฏิบัติง
1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน 3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ      4 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา 5 มีการประเมินนักศึกษาวิชาสหกิจศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ปฏิบัติการระบบไฟฟ้าและการป้องกัน
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3
1 ENGEE124 ปฏิบัติการระบบไฟฟ้าและการป้องกัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอแนวคิดในชั้นเรียน 1.1-1.4 1-16 10%
2 ตรวจการปฏิบัติงานของนักศึกษาในแต่ละใบงาน และงานที่มอบหมายให้นักศึกษา 2.1,3.1 1-16 60%
3 ตรวจพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม และตรวจงานที่มอบหมายให้นักศึกษา 4.2 ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 สอบกลางภาคเรียน สอบปลายภาคเรียน 2.1 9 16 10% 10%
ใบงานจำนวน 25 ชุด
ไม่มี
หนังสือและเว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน ทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน การตรงต่อเวลา การชี้แจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้ สื่อการสอนในรายวิชา
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในด้านทักษะกลยุทธ์การสอน และการใช้ สื่อการสอนในรายวิชา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- ปรับปรุงสื่อการสอนคอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรม Micom S1 ช่วยแสดงผลการจำลอง - ยกตัวอย่างการคำนวณที่สอดคล้องกับวงจรที่ใช้โปรแกรม Micom S1 ช่วยแสดงผลการจำลอง
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอ บการให้ คะแนนจากการสุ่ มต รว จ ผล งานข อ งนักศึกษาโดยอาจารย์ อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์    ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้    เกี่ยวกับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ