ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

Decision Support System

เพื่อให้นักศึกษามีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นทีม  สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ  เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและบทบาทของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ความสัมพันธ์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โครงสร้างของระบบสนับสนุนการตัดสินใจและการประยุกต์ใช้ระบบอัจฉริยะเชิงธุรกิจ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบและเทคโนโลยีการพัฒนาระบบ กระบวนการพัฒนาระบบและการประยุกต์ใช้
-
ศึกษาความหมายและบทบาทของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ความสัมพันธ์ของระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โครงสร้างของระบบสนับสนุนการตัดสินใจและการประยุกต์ใช้ระบบอัจฉริยะเชิงธุรกิจ ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบและเทคโนโลยีการพัฒนาระบบ กระบวนการพัฒนาระบบและการประยุกต์ใช้
1 ชั่วโมง
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
- ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริต - มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม - เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.2 วิธีการสอน
การสอนแบบบรรยายพร้อมยกตัวอย่างและฝึกปฏิบัติงาน เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ กำหนดให้นักศึกษาทำงานที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่มและรายบุคคลเพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและผู้ตามรวมทั้งฝึกการทำงานเป็นทีม การสืบค้น โดยให้นักศึกษาสืบค้นหาข้อมูลในชั่วโมงเรียน กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าห้องเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านหรือผลงานของผู้อื่นสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมในการสอนในรายวิชา
1.3 วิธีการประเมินผล
พิจารณาจากการส่งงานของนักศึกษาทั้งงานกลุ่มและเป็นรายบุคคลที่เป็นงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา การนำเสนองาน การสังเกตพฤติกรรม การเข้าห้องเรียนการแต่งกายถูกระเบียบของมหาวิทยาลัยและการทำงานเป็นกลุ่ม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
- มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ - สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา  
2.2 วิธีการสอน
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยใช้สื่อประกอบการสอน การทำงานเดี่ยวและกลุ่ม การนำเสนอรายงานจากโจทย์ปัญหาโดยนำความรู้มาประยุกต์ใช้
2.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินผลจากแบบฝึกหัดและงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
- คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ - สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.2 วิธีการสอน
การสอนแบบบรรยายและฝึกปฏิบัติ ที่ครอบคลุมเนื้อหาทางทฤษฎีและปฏิบัติทั้งหมดในรายวิชาโดยฝึกกระบวนการคิดจากโจทย์ที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากตามเนื้อหาในรายวิชา การมอบหมายงานโดยสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาจากโจทย์ เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามเพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษา
3.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินผลจากแบบทดสอบ การสอบกลางภาคและปลายภาคด้วยข้อสอบที่เป็นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ ประเมินจากการทำรายงานและการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมในการแก้ไขปัญหา
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
- สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม  
4.2 วิธีการสอน
มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล การนำเสนอรายงานโดยนำความรู้จากการเรียนมาประยุกต์ใช้
4.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินการเข้าชั้นเรียนและการตรงต่อเวลาของนักศึกษา ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
- สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ - สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม  
5.2 วิธีการสอน
- การนำเสนองาน - การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากรายงานและการนำเสนอด้วยสื่อทางเทคโนโลยี
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
 
 
6.2 วิธีการสอน
6.3 วิธีการประเมินผล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
1 BSCCT205 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 5.2, 5.3 สอบกลางภาค 9 30%
2 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 5.2, 5.3 สอบปลายภาค 17 40%
3 1.1, 1.2, 1.5, 2.1, 2.2, 3.1, 3.3, 4.1, 4.3, 5.2, 5.3 งานที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษา และการนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 1.1, 1.2, 1.5 การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
กิตติ  ภักดีวัฒนะกุล. 2550. คัมภีร์ระบบสนับสนุนการตัดสินใจและระบบผู้เชี่ยวชาญ. บริษัท  เคทีพี แอนด์ คอนซัลท์ จำกัด. ผศ.ดร.กฤษณะ  ไวยมัย. 2550.  คลังข้อมูลและการทำเหมืองข้อมูล (Data  Warehouse  and  Data  Mining).  เอกสารคำสอน  ภาควิชาคอมพิวเตอร์  มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล. การออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล (Data Warehouse). บริษัทเคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2546.
-
-  ระบบอัจฉริยะเชิงธุรกิจ
- แบบประเมินผู้สอน
- การสังเกตการณ์ในการสอน - ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ - การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
-
- การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน - นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา