โภชนบำบัด

Diet Therapy

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้ ทราบถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนบำบัด    การจำแนกประเภท ความสำคัญ และลักษณะของอาหารที่ใช้ในโรงพยาบาล การใช้ตารางอาหารแลกเปลี่ยน ลักษณะทางพยาธิสภาพ และการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมในโรคต่างๆ คำนวณ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนบำบัด    การจำแนกประเภท ความสำคัญ และลักษณะของอาหารที่ใช้ในโรงพยาบาล การใช้ตารางอาหารแลกเปลี่ยน ลักษณะทางพยาธิสภาพ และการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมในโรคต่างๆ คำนวณ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโภชนบำบัด    การจำแนกประเภท ความสำคัญ และลักษณะของอาหารที่ใช้ในโรงพยาบาล การใช้ตารางอาหารแลกเปลี่ยน ลักษณะทางพยาธิสภาพ และการเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึมในโรคต่างๆ คำนวณ
3.1 วันพุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักครูสาขาอุตสาหกรรมเกษตร โทร 085 9108165 3.2  e-mail; achara2518@yahoo.co.th เวลา 18.00 – 20.00 น. ทุกวัน
 
˜ มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ˜ มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ˜มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ™ เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ปฏิบัติตามระเบียบของการปฏิบัติการบริการอาหารผู้ป่วยที่ควรปฏิบัติ กำหนดให้นักศึกษาแบ่งเวรรับผิดชอบในการซื้อวัตถุดิบมาใช้ร่วมกันในชั้นเรียนและสังเกตจากการทำงานร่วมกันของกลุ่ม ตลอดจนการบ้านแต่ละเคสที่ได้รับมอบหมาย การสอนภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีการตรวจเช็คความตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มที่ต้องประกอบอาหารให้ผู้ป่วย รับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในการทำงานกลุ่มร่วมกัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และการปฏิบัติการประกอบอาหารสำหรับเคสผู้ป่วยแต่ละเคสที่ได้รับมอบหมายเป็นกลุ่ม - การส่งงานการบ้านที่ได้รับมอบหมายและการเตรียมวัสดุในการทำงานกลุ่ม - ตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียนและการส่งรายงาน - ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มร่วมกั
˜มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา ˜สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ™ สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ใช้การสอนแบบบรรยาย ร่วมกับการใช้สื่อ power point เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามและมีการยกเคสการคำนวณแต่ละเคส ใช้การสอนจากการคำนวณจากเคสตัวอย่างแบบ Case by Case การสอนด้วยการนำโปรแกรมคำนวณรายการอาหารแลกเปลี่ยนที่พัฒนาขึ้นจากทุนวิจัยเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน
การสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค การส่งงานคำนวณของแต่ละบุคคลในแต่ละเคส การทำรายงานการคำนวณและการฝึกปฏิบัติการจัดอาหารผู้ป่วยจากผลการคำนวณจากโปรแกรม
˜ มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ˜ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนโดยการนำตัวอย่างโรคแต่ละโรคมาให้นักศึกษาคำนวณแบบ Case by Case การสอนคำนวณแบบ Case by Caseและนำแต่ละเคสมาฝึกปฏิบัติการจัดอาหารแต่ละโรค
- การส่งงานคำนวณของแต่ละบุคคลในแต่ละเคส - ประเมินจากการคำนวณ และฝึกปฏิบัติอาหารเฉพาะโรค
™มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ ™ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ˜ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การปฏิบัติงานของนักศึกษาที่นักศึกษาต้องมีปฏิสัมพันธ์ของนักศึกษาจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ การทำงานกลุ่มร่วมกันในการฝึกปฏิบัติการจัดอาหารเฉพาะโรค
ประเมินจากผลของการทำรายงานการปฏิบัติการแต่ละครั้ง ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ประเมินการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่จัดขึ้น  แก้ไข
˜ สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม ˜ สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ™ สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภา
การสอนโดยใช้โปรแกรมการคำนวณรายการอาหารแลกเปลี่ยนที่ผู้สอนพัฒนาขึ้น การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในการทำรายงานในหัวข้ออาหารจำกัดโซเดียม การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย 
- ประเมินทักษะการใช้งานโปรแกรมการคำนวณรายการอาหารแลกเปลี่ยนฯ - ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติในแต่ละชั่วโมงปฏิบัติงาน - ประเมินรายงานการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 ตะหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้ 2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3 มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ 2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ 3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับธุรกิจอาหารและโภชนาการ 2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาร และโภชนาการโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสถิติประยุกต์ที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 3 3. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหารและโภชนาการได้อย่างเหมาะสม
1 BSCFN123 โภชนบำบัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ด้านความรู้ ปฏิบัติเพื่อทำโครงงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 13-15 8 16 10 % 25 % 25 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติ 15 16 ตลอดภาค 10%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน และงานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 10%
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร เล่มรายงาน 1-15 10%
American Diabetes Association, (2012). Diagnosis and classification of diabetes mellitus. (Vol. 35, pp. S64-S71) American Diabetes Association. Atrash, H. K., Johnson, K., Adams, M. M., Cordero, J. e. F., and Howse, J.  (2006). Preconception care for improving perinatal outcomes: the time to act. Maternal and Child Health Journal, 10, 3-11. Barrowclough, D.  (2003). Preparing for pregnancy. In D. M. Fraser and A. M. Cooper (Eds.), Myles textbook for midwives (14th edition, pp. 167-174). Edinburgh: Churchill Livingstone. Bingham., S. A., Day., N. E., Luben., R., et al. (2003).  Dietary fibre in food and protection against colorectal cancer in the European Prospective Investigation into Cancer and Nutrition (EPIC): an observational study.  The Lancet, 361(9368), 1497.1501. Brundage, S. C.  (2002). Preconception health care. American family physician, 65(12), 2507-2514. Buchwald, H., Estok, R., Fahrbach, K., et al. (2009). Weight and type 2 diabetes after bariatric surgery: systematic review and meta-analysis. The American journal of medicine, 122(3), 248-256. DeBruyne, L. K., Pinna, K., and Whitney, E. N. (2012).  Nutrition and diet therapy. Belmont, Calif.: Wadsworth / Cengage Learning. Dholvitayakhun, A. and Kluabwang, J.  (2014).  Application of local search for optimal assignment of food exchange lists problem.  International Journal of Computer Theory and Application, 6(2), 189-191. Global Industry Analysts. (2013). Global Functional Foods and Drinks Market to Exceed $130 Billion by 2015. USA.: Global Industry Analysts, Inc. Granato, D., Branco, G. F., Cruz, A. G., Faria, J. d. A. F., and Shah, N. P. (2010). Probiotic Dairy Products as Functional Foods. Comprehensive Reviews in Food Science and Food Safety, 9(5), 455-470. Humphrey, J. H. (2008).  Underweight malnutrition in infants in developing countries: An intractable problem.  Archives of Pediatrics & Adolescent Medicine, 162(7), 692-694. Insel, P. M. (2012). Nutrition :myplate update. 4th edition.  Burlington, MA: Jones & Bartlett Learning. Institute of Medicine.  (2002).  Dietary reference intakes for energy, carbohydrate, fiber, fat, fatty acids, cholesterol, protein, and aminoacids.  Washington, D.C.: National Academy Press.  Joshi, S. A. (2010).  Nutrition and dietetics : with Indian case studies. New Delhi: Tata McGraw-Hill. Kyle, U.G. and Pichard, C.  (2006).  The Dutch famine of 1944-1945: A pathophysiological model of long-term consequences of wasting disease. Current Opinion in Clinical Nutrition and Metabolic Care, 9(4), 388-394. Mokdad, A.h., Ford, E.S., Bowman, B.A., Dietz, W.H., Vinicor, F., Bales, V.S. and Marks. J.S. (2003). Prevalence of obesity, diabetes, and obesity-related health risk factors, 2001.Journal of the American medical association, 289(1), 76-79. Moskovitz, D., and kim, Y. (2004).  Dietary fiber. In M. Johnson Nyman (Ed.), Encyclopedia of gastroenterology (Vol. 1). New York: Elsevier Academic Press. Müller, L., Theile, K., and Böhm, V. (2010).  In vitro antioxidant activity of tocopherols and tocotrienols and comparison of vitamin E concentration and lipophilic antioxidant capacity in human plasma. Molecular Nutrition & Food Research, 54(5), 731-742. Nelms, M. N. (2011). Nutrition therapy and pathophysiology.  2nd edition. Australia; Belmont, CA: Wadsworth/Thomson. Peckenpaugh, N. J. (2007). Nutrition essentials and diet therapy.  10th edition. St. Louis, Mo.: Saunders/Elsevier. Rolfes, S. R., Pinna, K., and Whitney, E. N. (2009).  Understanding normal and clinical nutrition.  8th edition.  Belmont, CA: Wadsworth/Cengage Learning. Rosdahl, C. B., and Kowalski, M. T. (2008).  Textbook of basic nursing.  9th edition. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins. Schiff, W. (2011).  Nutrition for healty living.  2nd edition. New York, NY: McGraw-Hill. Schlenker, E. D., and Long, S. (2011). Williams' essentials of nutrition and diet therapy.10th edition.  USA: elsevier. Stanfield, P., and Hui, Y. H. (2010).  Nutrition and diet therapy : self-instructional approaches.  5th edition.  Sudbury, Mass.: Jones and Bartlett. Stunkard, A. j., Foch, T. T., and Hrubec, Z. (1986).  A twin study of human obesity.Journal of the American medical association, 256(1), 51-54. Wahlqvist, M. L. (2002).  Food and nutrition : Australasia, Asia and the Pacific.  2nd edition.  Crows Nest, NSW: Allen & Unwin. Wardlaw, G. M., and Smith, A. M. (2011). Contemporary nutrition. 8th edition. New York, NY: McGraw-Hill. Wattanakitkrileart., D. (2010). Nutritional care in patients with chronic obstructive pulmonary disease. Journal of Nursing Science, 28 (2), 13-21. White, L. (2005).  Foundations of basic nursing.  2nd edition.  Australia: Thomas Delmar. Whitney, E. N., and Rolfes, S. R. (2005).  Understanding nutrition.  10th edition. Australia; Belmont, CA: Wadsworth, Cengage Learning. WHO. (2013). Obesity and overweight. [ออนไลน์]. ได้จาก: www.who.int/mediacentre/factsheets/fs311/en/ Wildschut, H. I. (2006). Prepregnancy antecedents of a high risk pregnancy. In D. K. James, P. J. Steer, C. P. Weiner and B. Gonik (Eds.), High risk pregnancy management options. Pennsylvania: Elsevier Saunders. กมล  ไชยสิทธิ์ และคณะ.  (2552).  โภชนบำบัดมะเร็ง. กรุงเทพฯ: ชมรมฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคมะเร็ง. กรมอนามัย.  (2542).  เกณฑ์อ้างอิงน้ำหนัก ส่วนสูง และเครื่องชี้วัด ภาวะโภชนาการของประชาชนไทย อายุ 1วัน-19ปี.  กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรมอนามัย. (2546).  ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ. 2546.  พิมพ์ครั้งที่ 3.  กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กรมอนามัย. (2548).  แนวทางส่งเสริมโภชนาการเด็กและเยาวชนในพื้นที่โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน ในถิ่นทุรกันดาร ตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข. กระทรวงสาธารณสุข.  (2541).  ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) พ.ศ. 2541 เรื่อง ฉลากโภชนาการ. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข. กองการแพทย์ทางเลือก.  (2551).  ตำราวิชาการ อาหารเพื่อสุขภาพ.  กรุงเทพฯ: กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. กองโภชนาการ.  (2538).  การดูแลตนเองด้านโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุ. นนทบุรี: กรมอนามัย  กระทรวงสาธารณสุข. กองโภชนาการ.  (2545).  ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรุงเทพฯ: สามเจริญพาณิชย์ จำกัด. กองโภชนาการ.  (2552).  แนวทางการดำเนินงานการเฝ้าระวัง ภาวะโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-5 ปี. นนทบุรี: กรมอนามัย  กระทรวงสาธารณสุข. กัญญาณัฐ  เปี่ยมงาม. (ม.ป.ป.).  รู้ทันเบาหวาน.  ภาควิชาเทคนิคการแพทย์  คณะสหเวชศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ขนิษฐา  ตามสัตย์. (2552).  การส่งเสริมโภชนาการเด็กอายุ 0-6 ปี ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขตามการรับรู้ของผู้ปกครอง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. จินตนา  สุวิทวัส.  (2554).  ภาวะโภชนาการและบริโภคนิสัยของผู้สูงอายุที่เข้ารับการรักษาในแผนกการพยาบาลบำบัดพิเศษ.  วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ.  34(3) : 22 – 30. จุฑาวดี  วุฒิวงศ์. (มปป.)  ความสำคัญของโภชนาการในสตรีตั้งครรภ์.  กองสูตินรีเวชกรรม, โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. จุรีรัตน์  ห่อเกียรติ. (2554). เอกสารประกอบการบรรยายการแสดงฉลากโภชนาการตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 182) เรื่อง ฉลากโภชนาการ. [ออนไลน์]. ได้จาก: newsser.fda.moph.go.th/food/file/BenefitAdmin/.../GDA4Sec2011_3.pdf‎ ชนิดา ปโชติการ, ศัลยา  คงสมบูรณ์เวช, และอภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์. (2548).  อาหารและสุขภาพ. กรุงเทพฯ: เสริมมิตร. ชวลิต  รัตนกุล และ กวี  เจริญลาภ. (2549).  อาหารกับโรคความดันโลหิตสูง. ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาอาหารบำบัดโรค หน่วยที่ 8 - 15. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ชุติกาญจน์  ศักดิ์พิศุทธิกุล. (2553). โภชนบำบัดสำหรับโรคอ้วน 1. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.heart.kku.ac.th/sqshc/PDF/qshc/Nutrition_episode1.pdf ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ. (2554). โรคอ้วนในสังคมบริโภค. ในสุขภาพคนไทย 2554:เอชไอเอ กลไกพัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อชีวิตและสุขภาพ (หน้า 76-79). นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. ทักษพล ธรรมรังสี. (2555). วิกฤตปัญหาโรคอ้วน: ภัยเศรษฐกิจ พิษสังคม. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด. เทวี โพธิผละ และ นิตยา  ตั้งชูรัตน์. (2549). อาหารควบคุมน้ำหนัก. ในเอกสารประกอบการสอนประกอบการสอน ชุดวิชาอาหารบำบัดโรค หน่วยที่ 1 - 7. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ไทยรัฐออนไลน์.  (2556, 17 มีนาคม 2556).  เผยคนไทย 43 ล้านคนเสี่ยงป่วยสูง เหตุไม่ออกกำลังกาย. ไทยรัฐ. ธัญนันท์  อบถม.  (2552).  อาหารสำหรับหญิงมีครรภ์.  กรุงเทพฯ : ไทยคลอลิตี้บุ๊คส์. นวลอนงค์ หล่อดี.  (2552).  การรับรู้ประโยชน์และอุปสรรค ในการดูแลสุขภาพก่อนการตั้งครรภ์ ของสตรีวัยเจริญพันธุ์. พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. นันทยา จงใจเทศ และคณะ.  (2552).  รายงานการศึกษาวิจัยปี  2552 ปริมาณหวาน มัน เค็มในขนมหวานไทย. นนทบุรี: กลุ่มวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ กองโภชนาการ. นิธิยา  รัตนาปนนท์ และวิบูลย์  รัตนาปนนท์.  (2551).   ศัพท์วิทยาศาสตร์การอาหารและโภชนาการ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. บุษบง  ขำแป้ง.  (2549).  พฤติกรรมการบริโภคอาหารพร้อมปรุงของผู้บริโภคในห้างสรรพสินค้ากรุงเทพมหานคร.  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, กรุงเทพฯ. ประภาศรี  ภูวเสถียร.  (2554).  การจัดทำฉลากโภชนาการ: จากประกาศฯ...สู่การปฏิบัติ. [ออนไลน์]. ได้จาก: newsser.fda.moph.go.th/food/file/BenefitAdmin/.../GDA4Sec2011_4.pdf‎ ประวิตร พิศาลบุตร.  [29 พฤษภาคม 2552]  แพทย์เตือนวัยรุ่นคลั่งผอม เสี่ยงตายเร็ว 9 เท่า.  ผู้จัดการออนไลน์. ประเสริฐ  อัสสันตชัย.  (2545).  สถานภาพทางโภชนาการในผู้สูงอายุไทย.  วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ.  3(1) : 36 - 59. ปัญญาสมาพันธ์เพื่อการวิจัยความเห็นสาธารณะแห่งประเทศไทย.  (2552).  รายงานผลการสำรวจ ครั้งที่ 1/2552 ความคิดเห็นของประชาชนไทยต่อการใช้จ่ายและการบริโภค. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.wport.org/survey/detail/7 ผู้จัดการรายวัน.  (2545).  คนไทยกับหายนะภัยจากวิถีบริโภคแบบตะวันตก. เศรษฐสาร, 16(1), 1-6. ผู้จัดการออนไลน์.  (2548, 7 มีนาคม 2548).  กินเค็มมาก เสี่ยงต่ออายุสั้น เป็นโรคไต และ ความดันโลหิตสูง. ผู้จัดการออนไลน์. ผู้จัดการออนไลน์.  (2552, 3 มิถุนายน 2552).  คนไทยสวน ศก.กินข้าวนอกบ้านแซงชาติยุโรป. ผู้จัดการออนไลน์. ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช.  (2555).  โภชนาการในเด็กวัยเรียน.  กรุงเทพฯ: คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช.  (2555ก).  อาหารวัยทารก.  กรุงเทพฯ: คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช.  (2556).  โภชนาการหญิงให้นมบุตร.  กรุงเทพฯ: คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลศิริราช.  (2556ก).  อาหาร 6 หมู่สำหรับวัยรุ่น.  กรุงเทพฯ: คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. พัชราภรณ์  วชิรศิริ. (2550).  การสกัดใยอาหารจากเปลือกกล้วยน้ำว้า. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พัทธนันท์  ศรีม่วง.  (2555).  อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนบำบัด. กรุงเทพฯ: เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์พริ้นต์. พิจารณ์  พิมพ์ชนธไวย์. (2552).  คุมความดันโลหิตสูงให้อยู่ สู้โรคร้าย. กรุงเทพฯ: ฟีลกูด. พิชัย  เจริญพาณิช.  (2536).  แก่นแท้ของสูติศาสตร์ ปัญหาและแนวทางแก้ไข.  กรุงเทพฯ: พี.เอ.ลีพวิ่ง. พิมพาภรณ์  กลั่นกลิ่น.  (2555).  การสร้างเสริมสุขภาพเด็กทุกช่วงวัย.  ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.  ไพรัตน์  เชวงชัยยง.  (2541).  ปัจจัยทางด้านมารดาที่มีผลต่อน้ำหนักทารกแรกเกิดจังหวัดลำพูน.  วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ภวินท์พล โชติวรรณวิรัช. (2553). นักกำหนดอาหาร ผู้เชียวชาญด้านอาหารบำบัดโรค. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.dietitian.in.th/dietitian มรรยาท  สุธรรมพิทักษ์.  (2550).  โภชนาการในระยะตั้งครรภ์และระยะให้นมบุตร: บทบาทพยาบาล.  วารสารพยาบาลศาสตร์.  25(3), 22-29. รวีโรจน์  อนันตธนาชัย.  (2542).  โภชนศาสตร์ครอบครัว.  โครงการตำราวาการราชภัฏเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา 6 รอบ,โปรแกรมวิชา คหกรรมศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. รศรินทร์ เกรย์, อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์, เฉลิมพล แจ่มจันทร์ และเรวดี สุวรรณนพเก้า.  (2556).  มโนทัศน์ใหม่ของนิยามผู้สูงอายุ : มุมมองเชิงจิตวิทยาสังคม และสุขภาพ.  นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. รังสรรค์  ภูรยานนทชัย.  (2549).  การให้โภชนบำบัดในผู้ป่วยวิกฤต. สงขลานครินทร์เวชสาร, 24(5), 425 - 443. รัศมี  คันธเสวี.  (2549).  อาหารกับความเจ็บป่วย. ใน เอกสารประกอบการสอนประกอบการสอน ชุดวิชาอาหารบำบัดโรค หน่วยที่ 1 – 7. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. รุจิรา สัมมะสุต.  (2547).  รายการอาหารแลกเปลี่ยนไทย. วารสารโภชนบำบัด, 15(1), 33-45. รุจิรา สัมมะสุต.  (2552).  หลักการปฏิบัติด้านโภชนบำบัด.  พิมพ์ครั้งที่ 3.  กรุงเทพฯ: ฝ่ายโภชนาการ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. วรลักษณ์  คงหนู และ สมโชค คุณสนอง.  (2552).  ปัญหาขนมเด็กและเครื่องดื่มรสหวานกับสุขภาพ. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.pnic.go.th/news_view.php?group=2&id=22 วลัย  อินทรัมพรรย์.  (2549).  อาหารกับโรคเบาหวาน. ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชาอาหารบำบัดโรค หน่วยที่ 8 - 15. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วันทนีย์  เกรียงสินยศ. (2553).  โภชนาการกับเบาหวาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สารคดี. วิชัย  เทียนถาวร. (2555, 20 กันยายน 2555).  ทั่วโลก : ทุก 8 วินาที มีคนตาย 1 คน เบาหวาน เรื่องไม่เบา ที่เราต้องรู้. มติชน. วิภาวัน  จุลยา.  (2552).  อาหารผู้สูงอายุ.  กรุงเทพ : ไทยควอลิตี้บุ๊คส์. วิมลรัตน์  จงเจริญ.  (2543).  โภชนบำบัดสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง. สงขลา: ชานเมือง. วีรนุช รอบสันติสุข และสิริสวัสดิ์ วันทอง.  (มปป).  ลดเค็มพิชิตภัยเงียบ.  สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย ศรีสมัย  วิบูลยานนท์.  (2538).  สารอาหารที่มีอยู่ในอาหารแต่ละชนิดและรายการอาหารแลกเปลี่ยน. ใน โภชนศาสตร์ทางคลินิกในเด็ก. กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์. ศัลยา  คงสมบูรณ์เวช.  (ม.ป.ป.).  รายการอาหารแลกเปลี่ยน. กรุงเทพฯ: โรงพยาบาลเทพธารินทร์. ศิริลักษณ์  สินธวาลัย.  (2552).  หลักโภชนาการ และหลักการอาหารบำบัดโรค. กรุงเทพฯ: คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา.  (2551).  โภชนาการในเด็กวัยเรียน/วัยรุ่น.  [ออนไลน์]. ได้จาก : http://nutrition.anamai.moph.go.th [สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2557]. สถาบันวิจัยโภชนาการ.  (2548).  Food composition database ND.3 for INMUCAL PROGRAM. นครปฐม: สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.  (2555).  มื้อเช้า สำคัญจุดเริ่มต้นเด็ก เติบโต สมวัยเรียนรู้เร็ว จากข้อมูลหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ ฉบับวันที่ 17-20 มิถุนายน 2555. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.hsri.or.th/news/952 สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ.  (2548).  คู่มือแนวทางการดูแลรักษาโรคอ้วน. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ.  (2549).  แนวทางเวชปฏิบัติ การดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และภาวะไขมันในเลือดผิดปกติสำหรับผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด. สมเกียรติ  คูอมรพัฒนะ.  (2551).  เมนูคุณแม่ตั้งครรภ์เสริมอาหารให้ลูกน้อยตั้งแต่ในครรภ์.  กรุงเทพฯ:  แสงแดด จำกัด. อัจฉรา  ดลวิทยาคุณ.  (2558).  พื้นฐานโภชนบำบัด.  กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
- เอกสารรายการอาหารแลกเปลี่ยน (โรงพยาบาล เทพธารินทร์) 
- เอกสารรายการอาหารแลกเปลี่ยน (โรงพยาบาล เทพธารินทร์)  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 ผลการคำนวณรายการอาหารของนักศึกษา 1.2 ความสนใจและตั้งใจในการทำงาน 1.3 ผลการฝึกปฏิบัติการจัดรายการอาหารแลกเปลี่ยน 1.4 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินเพื่อนในรายวิชา 1.5 การจัดกิจกรรมแนะนำด้านโภชนบำบัด
เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะในการเรียนรู้ด้านโภชนบำบัดเพิ่มมากขึ้น ผู้สอนจึงได้ดำเนินการจัดสอดแทรกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับประเมินภาวะโภชนาการ ให้กับนักศึกษาที่เรียนในรายวิชาโภชนบำบัด จากงานวิจัยเรื่องโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับประเมินภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุ และช่วยวางแผนการบริโภคอย่างเหมาะสมด้วยรายการอาหารแลกเปลี่ยน ที่ได้รับทุนวิจัยจากงบภาคเหนือตอนล่าง สกอ. ประจำปี 2562 ซึ่งจากผลการอบรมนักศึกษาจะเกิดทักษะ 5 ด้าน คือ ด้านความรู้จากการนำโปรแกรมเข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดรายการอาหารแลกเปลี่ยน ด้านทักษะทางปัญญาจากการนำผลการคำนวณที่ได้มาจัดเป็นรายการอาหารแบบ Case by Case ด้านคุณธรรมจริยธรรม จากการกำหนดรายการอาหารให้ผู้ป่วยโดยคำนึงถึงโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ เกิดจากการที่นักศึกษาได้ลงมือฝึกปฏิบัติจากผลที่ได้จากการคำนวณมาจัดเป็นรายการอาหารร่วมกันเป็นกลุ่มๆ ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร เกิดจากการที่นักศึกษานำโปรแกรมคอมพิวเตอร์เข้ามาประยุกต์ใช้ในการจัดรายการอาหารแลกเปลี่ยน และนำโปรแกรมที่ได้มาทวนสอบด้วยการคำนวณมือ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม
การปรับปรุงการสอนจะดูจากผลการประเมินการสอนในรายวิชานี้และนำข้อมูลที่ได้มาดำเนินการปรับปรุงหรือเพิ่มประสิทธิภาพการสอนต่อไป
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการโดยดูจากผลการประเมินของนักศึกษาที่มีต่อรายวิชาโภชนบำบัด 4.2   มีการสุ่มตรวจของผู้รับผิดชอบหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก5 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   มีการนำเทคโนโลยีใหม่ที่ได้จากงานวิจัยมาบรูณาการการการจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษาเข้าใจและคำนวณผลได้รวดเร็วยิ่งขึ้น