การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ

Production Engineering Workshop for Industrial Engineering

เพื่อฝึกปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การสมดุล การ สั่นสะเทือนทางกล การบิด ความแข็งและความล้า เกี่ยวกับของไหลและความร้อน เช่น การไหลของของไหล การสูญเสียเนื่องจากการไหล การน าความร้อน การพาความร้อน การหาค่าความร้อนเชื้อเพลิง
2.1 เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย ครอบคลุมต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
2.2 เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนศ. และความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
ฝึกปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เช่น การสมดุล การ สั่นสะเทือนทางกล การบิด ความแข็งและความล้า เกี่ยวกับของไหลและความร้อน เช่น การไหลของของไหล การสูญเสียเนื่องจากการไหล การน าความร้อน การพาความร้อน การหาค่าความร้อนเชื้อเพลิง
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ตามตาราง office hour หรือตามการนัดหมาย
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรมเสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างถึงผลดีและผลเสีย
จิตพิสัยของนักศึกษาตลอดภาคการศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ และมอบหมายงาน
2.3.1 งานและการบ้าน
2.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ และมอบหมายงาน
3.3.1 งานและการบ้าน
3.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
4.1.1 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.1.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ และมอบหมายงาน
ถามตอบเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ภายในห้องเรียน
มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ และมอบหมายงาน
5.3.1 งานและการบ้าน
5.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ และมอบหมายงานแบบกลุ่ม
5.3.1 งานและการบ้าน
5.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGIE122 การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2 และ 3.2 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค 9 และ 17 20% และ 20%
2 6.1 งาน รายงาน และการบ้าน ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.2 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอน การประลองทางวิศวกรรมเครื่องกลสำหรับวิศวกรรมอุตสาหการ (ENGIE122)
ตำรา เอกสาร โปรแกรม และเวปไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน
ตำรา เอกสาร โปรแกรม และเวปไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน
โดยการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาผ่านระบบออนไลด์ในปลายภาคการศึกษา จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
2.1 โดยการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาผ่านระบบออนไลด์ในปลายภาคการศึกษา จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
2.2 ประเมินการสอนโดยพิจารณาจากผลการเรียน ผลการสอนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน หากนศ.ส่วนใหญ่มีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี อาจหมายความได้ว่า ใช้กลยุทธ์ในการสอนได้ดี
2.3 สังเกตุนศ.ในขณะที่ให้ทำแบบฝึกหัดในชั่วโมงเรียน หรือสังเกตจากการบ้านหรืองานที่นศ.ทำส่ง เพื่อพิจารณาถึงผลสัมฤทธิของการสอนในชั่วโมงก่อนหน้า
ทำการปรับปรุงการสอนเป็นรายสัปดาห์ โดยใช้ผลจากข้อ 2.3 เป็นตัวพิจารณา
ไม่มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในรายวิชานี้
หลังจากสิ้นภาคการศึกษา ผู้สอนจะนำผลจากข้อ 1 และ 2 ของหมวดที่ 7 นี้ มาพิจารณาเพื่อจัดทำรายงานเอกสาร มคอ.5 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงรายวิชานี้ในภาคการศึกษาหน้าต่อไป