การเตรียมโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์

Tools and Die Engineering Pre-Project

เพื่อฝึกปฏิบัติการค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม หรืองานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ วิธีการเขียนรายงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
การวางแผนการดำเนินงาน การจัดเตรียมวัสดุและ อุปกรณ์ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานความก้าวหน้า และการนำเสนอโครงงาน
1 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม หรืองานทางวิศวกรรมแม่พิมพ์ 2 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการตั้งชื่อโครงงาน วิธีการเขียนรายงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน 3 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวางแผนการดำเนินงาน การจัดเตรียมวัสดุและ อุปกรณ์ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานความก้าวหน้า และการนำเสนอ
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม หรืองานทาง วิศวกรรมแม่พิมพ์การตั้งชื่อโครงงาน วิธีการเขียนรายงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ขั้นตอนและแผนการด าเนินงาน การจัดเตรียมวัสดุและ อุปกรณ์ การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล การรายงานความก้าวหน้า และการ น าเสนอโครงงาน Practice of researching on the article, journal, invention and innovation or related works on tools and die engineering, giving of the project title, writing a report, the background of problem, of the objectives, scope, procedures and working plan, preparing the materials and equipment, collecting and analyzing data, providing the progress report and presentation.
3 ชม.
ผู้เรียนพยายามฝึกตามแบบที่ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ เพื่อที่จะให้เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจได้ หรือสามารถปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่มมีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาคเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมแม่พิมพ์
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ การประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี นอกจากนี้จัดให้มีการเรียนรู้จาก สถานการณ์จริงโดยการศึกษาจากผลงานวิจัย และสิ่งประดิษฐ์ที่มีการดำเนินงานมาแล้ว
ประเมินจากการนำเสนอข้อมูลรายงานในชั้นเรียน ตามหลักการที่ถูกต้อง ชัดเจน
สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 ใช้กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมแม่พิมพ์
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
ระเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น
หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น
4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ
4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
● มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
● มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์
จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ
5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และ
ให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
6.2.2 สนับสนุนการทำโครงงาน
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่ส าคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของ สาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ มีจิตส านึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการท างาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อ สังคม สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมี ประสิทธิภาพ มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา อธิบาย / ยกตัวอย่าง / ฝึกปฏิบัติ อธิบาย / ยกตัวอย่าง / ฝึกปฏิบัติ อธิบาย / ยกตัวอย่าง / ฝึกปฏิบัติ อธิบาย / ยกตัวอย่าง / ฝึกปฏิบัติ อธิบาย / ยกตัวอย่าง / ฝึกปฏิบัติ อธิบาย / ยกตัวอย่าง / ฝึกปฏิบัติ
1 ENGTD120 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมแม่พิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 นักศึกษาสามารถค้นคว้าบทความ งานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม หรืองานทาง วิศวกรรมแม่พิมพ์การตั้งชื่อโครงงาน วิธีการเขียนรายงาน ความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขต ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน ถาม ตอบ สังเกต จากการนำเสนอ 1 - 8 50%
2 นักศึกษาสามารถวางแผนการดำเนินงาน จัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล รายงานความก้าวหน้า และ นำเสนอโครงงาน ถาม ตอบ การนำเสนอข้อมูล 9-1ึ7 50%
เอกสารประกอบการสอน วิชาการเตรียมโครงงาน วิศวกรรมแม่พิมพ์
คู่มือ การจัดทำปริญญานิพนธ์  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร ล้านนา
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา
- งานที่ได้มอบหมาย
- การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
คณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบให้เป็นไปตามแผนการสอน