การออกแบบสิ่งทอขั้นสูง

Advanced Textile Design

1. เข้าใจกระบวนการและแนวคิดในการออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม
2. เข้าใจปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออกแบบงานหัตถกรรม
3. วิคราะห์งานหัตถกรรมประเภทต่างๆ ด้านรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย วัสดุและกระบวนการผลิต
3. ปฏิบัติการออกแบบงานหัตถกรรม และการส้รางสรรค์งานหัตถกรรมสู่ความยั่งยืน
เพื่อให้นักศึกษาศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับกระบวนการและแนวคิดในการออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม การวิคราะห์งานหัตถกรรมประเภทต่างๆ ด้านรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย วัสดุและกระบวนการผลิต ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออกแบบงานหัตถกรรม และการส้รางสรรค์งานหัตถกรรมสู่ความยั่งยืน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการและแนวคิดในการออกแบบหัตถกรรมเชิงนวัตกรรม การวิคราะห์งานหัตถกรรมประเภทต่างๆ ด้านรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย วัสดุและกระบวนการผลิต ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการออกแบบงานหัตถกรรม และการส้รางสรรค์งานหัตถกรรมสู่ความยั่งยืน
- อาจารย์ผู้สอคำปรึกษาประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้ตำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา แมีมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สังเกตุพฤติกรรมในการเข้าชั้นเรียน พฤติกรรมขณะปฏิบัติงาน ทางด้านความตั้งใจ ความพากเพียร ความรับผิดชอบ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยขณะปฏิบัติงาน ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม
บันทึกการสังเกตุพฤติกรรมลงในแบบบันทึก
- มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโ,ยีของสาขาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
- แนะนำแหล่งสืบค้นข้อมูลทางศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีได้
- มอบหมายงาน
จากผลงานที่มอบหมาย
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ยกตัวอย่างผลงานทางด้านศิลปะและการออกแบบส้รางสรรค์
- มอบหมายงาน
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และผลงานที่มอบหมาย
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทที่ดีในสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานให้นักศึกษาสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะและการออกแบบ
 
- จากการสังเกตุ
- จากผลงานที่มอบหมาย
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโ,ยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานให้สืบค้นข้อมูลในระบะ Internet และแหล่งสืบค้นอื่นๆ
 
- จากการนำเสนอผลงาน
- จากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 MAAAC107 การออกแบบสิ่งทอขั้นสูง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม สังเกตุพฤติกรรมลงในแบบบันทึก ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ จากกระบวนการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย 1-8 และ 10-16 30
3 ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค และ การสอบปลายภาค 9 และ 17 30
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ จากวิธีการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย 1-8 และ 10-16 20
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จากงานที่มอบหมาย 16 10
1. กฤตย์ เวียงอำพล. การออกแบบเขียนแบบ. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2540.
2. เครือจิต ศรีบุญนาค.สุนทรียภาพของชีวิต.กรุงเทพฯ :เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น. 2542.
3. สุชาติ เถาทอง.ศิลปะกับมนุษย์.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2532.
4. นพวรรณ หมั้นทรัพย์.การออกแบบเบื้องต้น.เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์.2521.
5. นวลน้อย บุญวงษ์.หลักการออกแบบ.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2539.
6. มนตรี ยอดบางเตย.ออกแบบผลิตภัณฑ์.กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2538.
7. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ.ศิลปะกับชีวิต.กรุงเทพฯ :คอมแพคท์พริ้นท์. 2537.
8. อารี รังสินันท์.ความคิดสร้างสรรค์.กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์.2527.
9. บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2537.
10. จีรพันธ์ สมประสงค์. ประวัติศิลปะ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2533.
11. ดุษฎี สุนทราชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2531.
12. พีนาลิน สาริยา. การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2549.
13. อัจฉราพร ไศละสูต. การออกแบบลวดลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :สหประชาพาณิช. 2524..
14. มนตรี เลากิตติศักดิ์. เอกสารงานวิจัยลวดลายและลวดลายผ้าล้านนาเพื่อพัฒนาการใช้อัตลักษณ์ในการออกแบบลวดลายผ้า.เชียงใหม่ :โครงการวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2555.
15. Cheryl Rezendes. Fabric Surface Design. United States : Quad/Graphics. 2013
ไม่มี
- เวปไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาในการนำแนวคิดและความเห็นของนักศึกษา โดย การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
- ผลงานของนักศึกษา
- การสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนขณะเรียนภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ
- การทดสอบผลการเรียนรู้
- ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนด
- หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกัยสถานการณืปัจจุบัน
 
- การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
- การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
- ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานตามข้อ 4
- การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา