สมบัติทางเคมีและกายภาพของวัตถุดิบอาหาร

Chemical and Physical Properties of Food Materials

1.1    เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายองค์ประกอบทางเคมีของอาหารได้
1.2    เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของส่วนประกอบของอาหารได้
1.3    เพื่อให้นักศึกษาสามารถอธิบายคุณสมบัติทางประสาทสัมผัสของอาหารได้
1.4    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการวัดและการใช้เครื่องมือวัดลักษณะทางกายภาพ ทางความร้อน สมบัติทางกลและการไหล ไดอิเล็กทริกส์ และทางสีของวัสดุอาหาร เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนและนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 
1.5    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ประสบการณ์ และเทคโนโลยีใหม่ๆที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาในสถานประกอบการ
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและกิจกรรมให้เหมาะสมกับพื้นฐานของผู้เรียน และเพื่อเพิ่มเติมสื่อการเรียนการสอนให้เข้ากับตำราเรียน ที่มีตัวอย่างที่ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น
ศึกษาคุณสมบัติทางเคมีและกายภาพของวัตถุดิบทางการเกษตรและวัสดุอาหาร ประกอบด้วย ส่วนประกอบ และองค์ประกอบหลักในอาหาร ได้แก่ น้ำ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน แร่ธาตุ และเอนไซม์ โครงสร้างและปฏิกิริยาทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของอาหารระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา สมบัติทางกายภาพของอาหารประกอบด้วย สมบัติทางความร้อน สมบัติเชิงกล และการไหล ปฏิบัติการการวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีและกายภาพในอาหาร และวัตถุดิบทางการเกษตร
อาจารย์ผู้สอน แจ้งเวลาให้นักศึกษามาปรึกษานอกตารางเรียนในครั้งแรกของการเรียนการสอน โดยจัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้

เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต (o) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (·) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (o) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน (o)
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม เสียสละ ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทำงานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ระบุให้มีการสอนเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพในรายวิชา รวมถึงส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสำนึกด้านความปลอดภัย และมีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตในการสอบหรือคัดลอกงานของผู้อื่นมาเป็นของตน เป็นต้น
ประเมินคุณภาพผลงานที่ได้มอบหมาย รวมถึงการกระทำทุจริตในการสอบ ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติงานกลุ่ม และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ประเมินจากพฤติกรรมและแนวคิดของนักศึกษาในการตอบสนองต่อเรื่องที่เกี่ยวกับบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม

ประเมินจากการทดสอบในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (·) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (·) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (o) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น (o) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ (o)
ใช้การเรียนการสอนโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ จัดให้มีการสอนร่วมระหว่างรายวิชาเพื่อให้เกิดการบูรณาการความรู้ นอกจากนี้ จัดให้มีการสอนผ่านกรณีศึกษาโดยนำโจทย์ปัญหาจากอุตสาหกรรมหรือสถานประกอบการมาให้นักศึกษาเชื่อมโยงองค์ความรู้ วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหานั้น ๆ รวมถึงจัดให้มีการสอนทีี่มีการใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีที่จำเป็นต่อการประกอบวิชาชีพ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
(1)    การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน และการทดสอบย่อย
(2)    ประเมินจากงานที่มอบหมายที่นักศึกษาจัดทำ
(3)    ประเมินจากผลงานที่นำเสนอในชั้นเรียน
(4)    ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ (·) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (o) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ (o)
จัดให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวจากสื่อหรือสังคมปัจจุบันและกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดในมุมมองที่แตกต่างอย่างมีวิจารณญาณ จัดให้มีการเรียนการสอนผ่านกรณีศึกษาที่ต้องมีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ปัญหาที่แท้จริง และแก้ไขปัญหาอย่างมีระบบ จัดให้มีการเรียนรู้ผ่านโครงงานทางเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่ต้องมีการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้ ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายในรูปแบบ Active learning และ Problem Based Learning โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการคิดและการปฏิบัติ มีการทำรายงานปฏิบัติการ การทบทวนบทเรียน และการทำแบบฝึกหัด มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆโดยใช้กรณีศึกษา เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง และใช้การยกตัวอย่างที่ใกล้เคียงหรือเหมือนกับงานจริงประกอบการสอน กระตุ้นให้นักศึกษาคิดด้วยตนเอง และแสดงความคิดในการเริ่มต้นวิเคราะห์ปัญหา มอบหมายการบ้านและแบบฝึกหัดให้นักศึกษาทำประจำสัปดาห์ตามหัวข้อต่างๆ
ประเมินตามสภาพจริงของนักศึกษา การปฏิบัติของนักศึกษา รวมถึงสังเกตพฤติกรรมเช่น ประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการ และการนําเสนอรายงานในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับบทปฏิบัติการ การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ ทั้งในสถานการณ์จริงในสถานประกอบการ ประเมินจากการตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม รวมถึงประเมินจากการสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค โดยเป็นการสอบแบบข้อเขียนที่มีการแสดงถึงทักษะกระบวนการทางความคิด การวิเคราะห์ และการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ศึกษานั้นมาตอบคำถามที่แปรผันได้
สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณาเชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (o) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ (o) มีจิตสํานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม (·)
จัดให้มีการเรียนหรือร่วมกิจกรรมกับกลุ่มคนที่หลากหลาย ส่งเสริมให้เกิดการฝึกปฏิบัติด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษผ่านการเรียนการสอนในรายวิชาและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และกิจกรรมชมรมของมหาวิทยาลัย ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษาสามารถทำงานกับผู้อื่นได้ มีีภาวะผู้นำและมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับความปลอดภัยและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ใช้การสอนที่มีการกําหนดกิจกรรมให้มีการทํางานเป็นกลุ่ม การทํางานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น ข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังใน ผลการเรียนรู้ดัานทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ ดังนี้ สามารถทํางานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้อย่างดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป

o มีภาวะผู้นําและผู้ตาม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการเรียนวิชาปฏิบัติ ประเมินจากการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกของนักศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบในการทำกิจกรรมกลุ่ม ประเมินจากความรับผิดชอบจากการรายงานส่วนบุคคลและรายงานกลุ่ม ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาประเมินความสัมพันธ์สมาชิกในกลุ่ม ทั้งด้านทักษะระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ประเมินจากจำนวนกิจกรรมที่เข้าร่วมและพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
(1)    มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี (o)
(2)    มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
(3)    สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (o)
(4)    มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูดการเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
(5)    สามารถใช้เครื่องมือการคำนวนและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ (o)
สอดแทรกการใช้เทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์เข้ากับการเรียนในรายวิชาด้านวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ จัดการเรียนการสอนทางรายวิชาคณิตศาสตร์และสถิติประยุกต์เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ของมูลทางสถิติที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาทางวิชาชีพ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศทำการค้นคว้าข้อมูล นำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม ผ่านการประยุกต์ใชการสื่อสารที่ทันสมัยในหลากหลายสถานการณ์ รวมถึงส่งเสริมให้มีการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมในการแก้ปัญหา จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จําลอง และ สถานการณ์เสมือนจริง โดยมีการใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ สถิติประยุกต์ และการใช้คอมพิวเตอร์ มาช่วยในการเรียนรู้ และนําเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติการและนำเสนอหน้าชั้นเรียน โดยมุ่งเน้นให้มีการนำเทคนิคการสืบค้น เพื่อทำรายงานและหาแหล่งข้อมูลในทางที่แม่นยำและถูกต้อง รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน เช่น การใช้ power point และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่าง ๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน ประเมินจากความสามารถในการใช้เครื่องมือทางวิศวกรรมในการแก้ปัญหา ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายผลการทดลองในบทปฏิบัติการ ประเมินจากการสุ่มหาเอกสารอ้างอิงจากการที่ผู้เรียนทำรายงานมาส่งได้
การทำงานในสถานประกอบการ หรือการประกอบอาชีพอิสระนั้นไม่ได้ใช้เพียงแค่หลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในด้านทักษะทางการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นยิ่งในการพัฒนาตนเอง และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิตวิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหาร ดังนั้นในการเรียนการสอนจึงต้องให้ความสำคัญเน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรมการผลิตและนวัตกรรมอาหารดังข้อต่อไปนี้

มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (·) มีความทักษะในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตอุตสาหกรรรมอาหาร
(1)    จัดให้กิจกรรมที่มีการบูรณาการความรู้และการค้นคว้าข้อมูล ในประเด็นที่ต้องการแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางอาหาร
(2)    จัดการสอนรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและการจัดการ เน้นทฤษฎีและการปฏิบัตรกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตอุตสาหกรรรมอาหาร
(3)    จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้ที่เรียนมาทำการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไป

สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ ให้ความสําคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบและมีความประณีต
ประเมินจากคุณภาพของผลงานของนักศึกษา และการทำข้อสอบหรือแบบทดสอบ พิจารณาผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานที่มอบหมาย พิจารณาจากแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบในโครงงานที่ได้รับมอบหมาย ในรูปแบบของรายงาน ชิ้นงาน และสื่อต่างๆ สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมและงานที่ได้รับมอบหมาย สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและจดบันทึก พิจารณาผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานที่มอบหมาย พิจารณาจากแนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบในโครงงานที่ได้รับมอบหมาย ใน รูปแบบของรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม (5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน (1) มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะทางวิศวกรรม และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหาร (3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (4) สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น (5) สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ (1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ (3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ (5) สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ (1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม (2) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณาเชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอํานวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ (3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง (4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ (5) มีจิตสํานึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทํางาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูดการเขียนและการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ สามารถใช้เครื่องมือการคำนวนและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ (1) มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถบูรณาการความรู้ที่เรียนมาเพื่อพัฒนาต่อยอดทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนางานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (2) มีความทักษะในการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตอุตสาหกรรรมอาหาร
1 ENGFI123 สมบัติทางเคมีและกายภาพของวัตถุดิบอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2,3,5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30% 30%
2 1-5 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย รายงานการปฏิบัติการ 1-18 35%
3 1-5 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-18 5%
นิธิยา รัตนาปนนท์. 2553. เคมีอาหาร. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร, 487หน้า. นิธิยา รัตนาปนนท์. 2548. วิทยาศาสตร์การอาหารของไขมันและน้ำมัน. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร, 244 หน้า รศ.ดร.อัมพวัน ตั๊นสกุล, “สมบัติทางวิศวกรรมของอาหารและวัสดุชีวภาพ” , พิมพ์ครั้งที่ 1 ภาควิชาวิศวกรรมอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี พ.ศ.2551. AOAC. 2005. Official Methods of Analysis of AOAC International. 18th Edition. AOAC International, Gaithersburg, Maryland. 2200 p. Belitz H.D., W. Grosch and P. Schieberle. 2009. Food Chemistry. 4th Edition. Springer-Verlag Berlin Heidelberg, Germany. Ceirwyn, S.J. 1995. Analytical Chemistry of Foods. 1st Ed. UK: Blackie Academic & Professional. deMan, John M. 1999. Principles of Food Chemistry. 3rd Edition. Aspen Publishers Inc., Gaithersburg, Maryland.  Kirk, R. and Sawyer, R. 1991. Pearson’s Chemical Analysis of Food 9th Edition. Longman Scientific and Technical: Harlow, Essex, UK. Nielsen, S. S. 1998. Food Analysis 2nd Edition. Aspen Publishers, Inc.: Gaithersburg, Maryland, USA Sahin, S. and S.G. Sumnu. 2005. “Physical Properties of Foods”, 1st Edition. Springer Science+Business Media, New York.  
1.1     การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3    ข้อเสนอแนะของนักศึกษา  
2.1    การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา   2.2    ผลการเรียนของนักศึกษา (การสอบกลางภาคและปลายภาค)
3.1     ประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา สรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดกาสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
3.2    ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษา โดยดูจากแบบทดสอบก่อนการเรียน เพื่อปูพื้นฐานและทบทวนในบางหัวข้อ
วิธีการทวนสอบ สรุปผล - การพิจารณาความตั้งใจเรียนของนักศึกษาจากจำนวนการมาเรียนทุกครั้ง การส่งผลงานที่ตรงต่อเวลาและครบตามใบงานทำให้นักศึกษาผ่านงานปฏิบัติ - การประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ว่ามีการสืบค้นข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและอ้างอิงแหล่งที่มาอย่างถูกต้อง - ประเมินจากการรายงานบทปฏิบัติการ ว่ามีความเหมาะสมกับเนื้อหา และใช้เครื่องมือในการทำรายงานที่ดี - พิจารณาจากแบบประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในรายวิชา - ระดับคะแนนของนักศึกษาจะผ่านเกณฑ์ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีผลทำให้มีผลการเรียนที่ผ่านรายวิชานี้ได้   - นักศึกษามีการค้นคว้าและอ้างอิงที่มาได้อย่างถูกต้อง   - มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม   - จากคะแนนประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในรายวิชา ทำให้ทราบว่านักศึกษามีความรู้สามารถในการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติได้ตามวัตถุประสงค์ของรายวิชา
5.1    ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2    ปรับปรุงรูปแบบของกิจกรรมให้มีความหลากหลาย
5.3    ปรับปรุงเนื้อหาการสอนให้มีความน่าสนใจ มีการเลือกใช้สื่อที่ทันสมัย
5.4    นำข้อคิดเห็นจากการประเมินโดยนักศึกษามาประมวล เพื่อจัดเนื้อหาความรู้ให้เหมาะสม ผลจากการประมวลจะนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป