การออกแบบเฟอร์นิเจอร์และตกแต่งภายในขั้นสูง
Advanced Furniture and Interior Design
รู้และเข้าใจหลักการเกี่ยวกับกระบวนการและแนวคิดการออกแบบเชิงลึก เพื่อการออกแบบเฟอร์นิเจอร์และตกแต่งภายในเพื่อเพิ่มประสบการณ์และค้นหาแนวทางเฉพาะของตนเอง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติกระบวนการและแนวคิดการออกแบบเชิงลึก เพื่อการออกแบบเฟอร์นิเจอร์และตกแต่งภายใน การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลและวัสดุที่เกี่ยวข้อง การนําเสนอโครงงาน สร้างสรรค์เฟอร์นิเจอร์และตกแต่งภายในเชิงนวัตกรรม เพื่อเพิ่มประสบการณ์และค้นหาแนวทางเฉพาะของตนเอง
- อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งนศ.ให้รับทราบในชั่วโมงแรกของการเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการออกแบบอย่างยั่งยืนโดยคำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบอย่างยั่งยืน
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลรายงานที่มอบหมาย
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลรายงานที่มอบหมาย
ความรู้เกี่ยวกับการสัมมนา นำเสนอ และอภิปรายหัวข้อที่น่าสนใจทางศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์เพื่อนำมาพัฒนาเป็นหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การทำรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2.3.2 ประเมินจากการทำรายงาน การค้นคว้าข้อมูล หรือโจทย์จาก Problem – based Learning
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อทางด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบอย่างยั่งยืน
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็น พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนศ.
4.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนศ.
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | MAAAC209 | การออกแบบเฟอร์นิเจอร์และตกแต่งภายในขั้นสูง |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3.1, 3.3.1 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 17 | 15% 15% |
2 | 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 | การอภิปรายกลุ่ม งานปฏิบัติในชั้นเรียน โครงงาน (Project) | ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา | 5% 30% 25% |
3 | 1.3.1, 1.3.2,1.3.3 | การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
1. เพ็ชรรัตน์ and เสาวภา, 2022. การปรับปรุงการให้บริการวารสาร ด้วยการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) กรณีศึกษา
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ. วารสาร สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ, 11, pp.1-21.
2. Hardcore CEO. 2020. SWOT Analysis คืออะไร ช่วยให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างไร.
https://hardcoreceo.co/swot-analysis/
3. Tiger Rattana. Critical Thinking คืออะไร – กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
https://faithandbacon.com/critical-thinking/
4. ไทย วินเนอร์. 2564. Design Thinking คืออะไร? การคิดเชิงออกแบบใน 5 ขั้นตอน
https://webportal.bangkok.go.th/upload/user/00000132/download/Design%20Thinking.pdf
5. FH Zentralschweiz Bachelor of Arts Design Management, International The Role of Design Management
www.hslu.ch/designmanagement
บทที่ 9 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่.
http://www.thonburi-u.ac.th/docnew/CE_143109/ครั้งที่%209%20การจัดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่.pdf
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ. วารสาร สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ, 11, pp.1-21.
2. Hardcore CEO. 2020. SWOT Analysis คืออะไร ช่วยให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างไร.
https://hardcoreceo.co/swot-analysis/
3. Tiger Rattana. Critical Thinking คืออะไร – กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
https://faithandbacon.com/critical-thinking/
4. ไทย วินเนอร์. 2564. Design Thinking คืออะไร? การคิดเชิงออกแบบใน 5 ขั้นตอน
https://webportal.bangkok.go.th/upload/user/00000132/download/Design%20Thinking.pdf
5. FH Zentralschweiz Bachelor of Arts Design Management, International The Role of Design Management
www.hslu.ch/designmanagement
บทที่ 9 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่.
http://www.thonburi-u.ac.th/docnew/CE_143109/ครั้งที่%209%20การจัดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่.pdf
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์