ดิจิทัลเพ้นท์ติ้งสร้างสรรค์

Creative Digital Painting

1. ศึกษาค้นคว้ากระบวนการสร้างสรรค์เทคนิคดิจิทัลเพ้นท์ติ้งที่ผสมผสานร่วมกับแนวความคิดทางทัศนศิลป์
2.  ฝึกทักษะปฏิบัติการสร้างสรรค์งานดิจิทัลเพ้นท์ติ้งตามกระบวนการทางทัศนศิลป์อย่างมีระบบและขั้นตอน
3. ทำการเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณะชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปรับปรุงรายวิชามาจากวิชา BFAVA140 สื่อศิลปะ 2
ศึกษากระบวนการสร้างสรรค์ดิจิทัลเพ้นท์ติ้ง ฝึกทักษะเรียนรู้เทคนิคการวาดภาพดิจิทัลที่ใช้โปรแกรมซอฟแวร์ทางศิลปะผสมผสานร่วมกับกระบวนการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ต่างๆ อย่างมีระบบและขั้นตอน ตั้งแต่กระบวนการ การศึกษาค้นคว้า แนวความคิด การร่างภาพ ตลอดจนการแก้ไขปรับปรุงผลงานจนสำเร็จเป็นผลงานที่สามารถเผยแพร่ได้  มีความรับผิดชอบในตนเองและส่วนรวม รู้จักการทำงานเป็นทีม สามารถวางแผน ดำเนินงานทำการเผยแพร่ผลงานสร้างสรรรค์สู่สาธารณะชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Study digital painting's creation process and practice techniques using software and systematically combine with various visual arts processes. Steps include researching related concepts, sketching, editing, and improving to complete the artwork for getting published. Build self-responsibility and social responsibility, including teamwork, planning skills, and efficiently proceeding with the art exhibition.
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
(1) ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2) มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
(3) มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา  ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
(1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง
(2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
(3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
(4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา        
(1) อภิปรายและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานดิจิทัลอาร์ตทางทัศนศิลป์ (2) นำเสนอหรือแสดงความคิดเห็นความรู้ที่สนับสนุนต่อการสร้างสรรค์ผลงาน ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี   (3) มีความรู้ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์ดิจิทัลอาร์ตทางทัศนศิลป์ ตลอดจนถึงจุดมุ่งหมาย  เนื้อหาในการสร้างสรรค์ดิจิทัลอาร์ตทางทัศนศิลป์
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ คือ การส่งงานที่มาจากความรู้ที่ศึกษา การประเมินจากความรู้ความเข้าใจ จากการแสดงความคิดเห็น การนำเสนอผลงานตามความรู้ที่ได้รับ ที่มาจากการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานดิจิทัลอาร์ตทางทัศนศิลป์
(1)  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
(2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
(3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
(4) มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา  การมอบหมายงานให้สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อพัฒนาผลงานสร้างสรรค์ เน้นการฝึกให้ตั้งข้อสังเกต ฝึกการตั้งคำถาม ฝึกการคิดจากข้อมูลการศึกษาในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน โดยจัดกิจกรรมการสอนที่ให้มีส่วนร่วมได้ใช้ความคิดเห็นร่วมกัน สอดแทรกตัวอย่างที่เกิดจากการ ใช้ทักษะทางปัญญา เช่น การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองในด้านใดอย่างไร ที่ทำให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดทั้งต่อตนเองและสังคม
สังเกตพัฒนาการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ความสนใจความตั้งใจในการแสวงหาความรู้ สังเกตวิธีคิดในการตั้งคำถาม หาคำตอบและแนวทางแก้ไขปัญหา พิจารณาพัฒนาการการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีไหวพริบสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างเหมาะสม
(1) มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
(1) สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่ เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ    ค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล  โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล   การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร 
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอภิปรายรายบุคคล
สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
1 BFAVA196 ดิจิทัลเพ้นท์ติ้งสร้างสรรค์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน ขาด ลา มาสาย - การถาม-ตอบในชั้นเรียน การมีวินัย 1-18 6%
2 ความรู้ ผลการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล รู้รายละเอีบดความรู้ อย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ 1-18 20
3 ทักษะทางปัญญา ผลการสร้างสรรค์มีความสอดคล้องกับความเป็นผลงานดิจิทัลอาร์ตทางทัศนศิลป์ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาแนวคิด ผลงานของตนเองได้ มีไหวพริบและสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในผลงานสร้างสรรค์ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ สัปดาห์ที่มีการตรวจประเมิน 3-5-7-9-11-13-15-17 40%
4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การถามตอบในชั้นเรียน มีความเป็นผู้นำและผู้ฟังที่ดี สามารถทำงานเป็นกลุ่มได้ การนำเสนอผลงานต่อผู้ที่สนใจ 1-18 2%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการค้นคว้าเพื่อการจัดทำรายงานแบบกลุ่มหรือเดี่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1-18 2%
6 ทักษะพิสัย ผลงานสร้างสรรค์เป็นดิจิทัลอาร์ตทางทัศนศิลป์ 1-18 30%
ถนอม ชาภักดี. 2540. “ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช Chef-Conceptual Artist.” เนชั่น สุดสัปดาห์ 28 กุมภาพันธ์, 66 - 67
มาร์ค ไทรบ์/ รีนา จานา. (2552). นิวมีเดียอาร์ต (สำราญ หม่อมพกุลและวรพจน์ สัตตะ
พันธ์คีรี, แปล). เชียงใหม่ไฟน์อาร์ต.
รศ.จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่20. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2552
เซบาสเตียน ตายาค/ เรเน่ สมิทธิ์. (2551). From Relational Aesthetics to
Altermodern (สมเกียรติ ตั้งนโม, แปล). สืบค้น 10 กันยายน 2563, จากhttp://midnightuniv.tumrai.com/midnighttext/000921.doc
Poshyananda, Apinan. 1996. Contemporary Art in Asia: Traditions, Tensions. New York: Asia Society Galleries.
Rawanchaikul, Navin. 2008. Navin’s Sala: Navin Production’s International Art & Life Magazine. Chiangmai: Navin Production
Saltz, Jerry. 1996. “A Short History of RirkritTiravanija.” Art in America 84, 2 (February): 82.
Alexander, V. D. (2003). Sociology of the Arts: Exploring Fine and
Popular Forms. Wiley Publishing Company. USA.
Ahmed, S. U. (2018). Human-Computer Interaction. Interaction in
Context, Interaction and Interactivity: in the context of
digital interactive art installation. 20th International Conference, HCI International 2018, Las Vegas, NV, USA, July 15–20, 2018, Proceedings, Part II.
Art Marketing 101: How to Promote Your Art. (2018). Retrieved 8 December
2020 from https://www.format.com/magazine/resources/art/how-
to-promote-your-art
Auslander, P. (1997). From acting to performance. Routledge. London
Bird, M. (2012). 100 ideas that changed art. Laurence King Publishing.
London.
Bourriaud, N. (2002). Relational Aesthetics. Les presses du reel. France
Ekim, B. (2011). Video Mapping Projection Conceptual Design and
Application. The Turkish Online Journal of Design, Art and Design (TOJDAC). Istanbul Aydın University.
Goldberg, R. (1996). Performance art from futurism to the present.
Thames & Hudson. London.
 
Ippoloto, J. (2002). Ten Myths of Internet Art. The MIT Press company.
USA.
Marcos, A., Branco, P., & Zagalo, N. (2009). Handbook of Digital
Media in Entertainment and Arts: The Creation Process in
Digital Art. Springer Science & Business Media. German
Marcos, A., Branco, P., & Carvalho, J. A. (2009). The Computer
Medium in Digital Art's Creative Process. IGI Global. USA.
Mccarthy, K. F., Ondaatje, & Heneghan, E. (2001). The Chapter:
development of media art: Celluloid to cyberspace.
Retrieved 1 December 2020 from            https://apps.dtic.mil/dtic/tr/
fulltext/u2/a411844.pdf
McHugh, A., Konstantelos, L., & Barr, M. (2010). Reflections on
Preserving the State of New Media Art. Retrieved 3 December 2020 from http://eprints.gla.ac.uk/45956/
Quaranta, D. (2013). Beyond New Media Art. Lulu Press, Inc. USA.
Sampanikou, E. (2015). New media art. Retrieved 14 December 2020
https://www.researchgate.net/publication/303425493
_New_media_art
ŞANGÜDER, M. K. (2016). Cyborg Formations in Art. Journals:
International Journal of Social Relevance & Concern. Retrieved 2
December 2020 from https://www.researchgate.net/
publication/321747904_Cyborg_Formations_in_Art
Smith, K. (2001). The experimental turn in the visual art. Retrieved 7
December 2020 from https://www.academia.edu/9404121/
The_Experimental_Turn_in_the_Visual_Arts
Søndergaard, M. (2002). Sound Art – a trans-aesthetic project.
Retrieved 16 December 2020 from https://www.researchgate.net/
publication/264457362_Sound_Art_An_Inter-aesthetic_Project
Stalker, P. J. (2006). Gaming in art. Retrieved 12 December 2020 from  
https://www.semanticscholar.org/paper/Gaming-in-art%3A-A-case-
study-of-two-examples-of-the-Stalker/4be0c31dfeb97a8b38598
6d7837fc6b0f80ca500
Stokstad, M. (2001). Art History. London.
   แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้งในห้องสมุดและสถานที่จริง                   
-  หอศิลปวัฒนธรรม ต่างๆในประเทศไทย                   
-  วัดต่างๆที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ในประเทศไทย                   
- แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย                   
- โรงงานอุตสาหกรรมทางด้านศิลปะที่มีชื่อเสียง                   
- แกลลอรี่                          
- บ้านศิลปินแห่งชาติ              
- พิพิธภัณฑ์
วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ           - Art 4D           - Fine Arts           - Aesthetica - The Art and Culture Magazine - ART PAPERS, based in Atlanta, US   สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ http://www.deviantart.com/ http://www.art.net/ www.artinfo.com http://www.artbabble.org/ http://www.artcyclopedia.com/ http://www.artdaily.org/ http://www.theartsmap.com/ http://www.blackbird.vcu.edu/ http://designobserver.com/ http://www.interartcenter.net/
1.1 สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อจบเนื้อหานั้น 1.2 นักศึกษาประเมินการสอนจากแบบสอบถาม เว็บไซต์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1 การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 2.4 ผลการค้นคว้าจากรายงานของนักศึกษา 2.5 เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเข้าร่วมในการเรียนการสอน 2.6 ผลการประเมินจากการให้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ที่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
3.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4.1 กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา 4.2 ทวนสอบจากคะแนนการปฏิบัติ หรืองานที่มอบหมายจากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษา 4.3 ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย 5.3 นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น    คะแนนสอบของนักศึกษา   การประชุมสัมมนานำมา  สรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป