จุลชีววิทยาทั่วไป

General Microbiology

1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พื้นฐานทางจุลชีววิทยา เทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยา สัณฐานและโครงสร้างเซลล์แบคทีเรีย การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต การควบคุมจุลินทรีย์ เมทาบอลิซึม หลักการจำแนกจุลินทรีย์และความหลากหลายของจุลินทรีย์ 
1.2 ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้ทางจุลชีววิทยาในทางวิชาชีพ
1.3 มีทักษะการปฏิบัติเทคนิคทางจุลชีววิทยา
1.4 มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.5 สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับจุลชีววิทยา
เพื่อให้สอดคล้องตาม มคอ. 2 และเพื่อให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐาน TQF
เพื่อปรับกระบวนการเรียนการสอน ปรับรายละเอียดเนื้อหา ให้เหมาะกับสถานการณ์และมีความทันสมัยตามปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญทางจุลชีววิทยา สัณฐานวิทยาและโครงสร้างของจุลินทรีย์ การจำแนกจุลินทรีย์ การดำรงชีพและเมทาบอลิซึมของจุลินทรีย์  การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ฟังไจ ไวรัส ริคเก็ตเซีย  และแคลมายเดีย โรคและภูมิคุ้มกัน จุลชีววิทยาประยุกต์
1.5 ชั่วโมง
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดกฎระเบียบการเข้าเรียน เช่น
- กำหนดเวลาเข้าเรียน
- การส่งงาน
- การรับผิดชอบของตนเอง
- การทำงานกลุ่มร่วมกัน
ความสม่ำเสมอในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ แล้วประมวลเป็นคะแนนจิตพิสัยร้อยละ 10
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
active learning
- การนำเสนอความรู้ที่ได้สืบค้น ในระหว่างการอภิปราย
- การสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
active learning
- การนำเสนอความคิดเชิงประยุกต์ที่ได้สืบค้น 
- การสอบ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การทำงานกลุ่ม
- การเรียนรู้การรับฟังผู้อื่น มารยาทในการฟังผู้อื่น
- มารยาทการใช้พื้นที่สาธารณะร่วมกัน ในที่นี้ คือ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ รวมถึงอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ
- ความร่วมมือในการทำงานร่วมกัน
- การรับฟัง และการมีส่วนรวมในฟังผู้อื่น
- ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการใช้พื้นที่สาธารณะ ห้องปฏิบัติการ ร่วมกัน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- เทคนิคการสืบค้นความรู้จากอินเตอร์เน็ต เช่น การใช้คำสำคัญ การพิจารณาหน้าเว็ปที่เชื่อถือได้
- คิด วิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นมาแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
- ผลที่ได้จากการสืบค้น ได้แก่ ความรู้ที่ได้จากการสืบค้น การอ้างอิงแหล่งสืบค้น
- กระบวนการคิดในการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 3 1 2 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCCC113 จุลชีววิทยาทั่วไป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม ความสม่ำเสมอในการเข้าเรียน การส่งงาน การรับผิดชอบงาน การแต่งการเหมาะสม ทุกสัปดาห์ 10
2 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและมารยาททางสังคม การทำงานเป็นทีม ทุกสัปดาห์ 5
3 ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสืบค้นข้อมูลจากสื่อสารสนเทศ และรูปแบบการนำเสนอรายงานที่เหมาะสม สัปดาห์ที่มีการนำเสนอรายงาน 5
4 ความรู้ ความรู้และความเข้าใจในภาค ทฤษฎี และ ภาคปฏิบัติ โดยการสอบวัดผล การติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง โดยการนำเสนอรายงาน และการอภิปรายร่วมในห้องเรียน สอบเก็บคะแนนหลังการเรียน สอบกลางภาคและปลายภาค สอบปฏิบัติ 40
5 ปัญญา มีทักษะเชิงประยุกต์ สามารถนำจุลินทรีย์มาใช้ประโยชนืได้ ทุกสัปดาห์ 40
พรรณพร กุลมา. (2557). เอกสารประกอบการสอนจุลชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. น่าน: ศูนย์การพิมพ์และตำราเรียนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
พรรณพร  กุลมา. 2558. ปฏิบัติการจุลชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 1. น่าน: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ และปรีชา สุวรรณพินิจ. (2547). จุลชีววิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บริษัทเท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จำกัด.
วีรานุช  หลาง. (2554). จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สุมิตรา ภู่วโรดม. (2532). ปุ๋ยชีวภาพเพื่อการเกษตร. ภาควิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
1.1  ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน    ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย 
1.2  ให้นักศึกษาประเมินการสอน โดยการสอบถามประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน
 
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
          2.2 ผลการประเมินจากการสอบถามประเมินการสอนของอาจารย์ผู้สอน
ปรับปรุงรูปแบบเอกสารประกอบการสอนให้น่าสนใจ เหมาะกับยุคสมัยที่มีการเรียนออนไลน์ 
ปรับกระบวนการเรียนรู้ การสอบ ให้สะดวกต่อทั้งผู้เรียนและผู้สอน ในยุคโควิค ที่ต้องมีการสอนและสอบออนไลน์
 
การทบทวนการออกข้อสอบตรงตามวัตถุประสงค์ในแต่ละบท
การทบทวนตรวจสอบการให้คะแนนผลการเรียนนักศึกษา
ทำการทบทวนเนื้อหาให้สอดคล้องกับ มคอ. 2 และเป็นไปตามกรอบสมรรถนะมาตรฐาน TQF
นำผลการประเมินที่ได้จากการประเมินของนักศึกษามาใช้ปรับปรุงเนื้อหา แผนการสอน และ รูปแบบกระบวนการสอน ให้สอดคล้องกับบริบทปัจจุบัน