ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1. เพื่อเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก
2. เพื่อเรียนรู้จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม และการต่อต้านทุจริตและคอรัปชั่น 3. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงระบบ และรู้เท่าทันเทคโนโลยี
4. เพื่อเรียนรู้การใช้ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5. เพื่อเรียนรู้และวางแผนชีวิตที่เหมาะสมในสังคมแห่งการเรียนรู้
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้สอดคล้องกับการพัฒนาคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาเกี่ยวกับการบูรณาการศาสตร์เพื่อเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก มีจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม การต่อต้านทุจริตและคอรัปชั่น ทักษะการคิดเชิงระบบ รู้เท่าทันเทคโนโลยี การใช้ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่พึงประสงค์ สามารถเรียนรู้และวางแผนชีวิตที่เหมาะสมในสังคมแห่งการเรียนรู้
Study integration science to gain a better understanding of changes in Thai and global society, ethics, social responsibility, anti-corruption, and system thinking abilities. Acquire digital literacy skills and learn how to live an environmentally friendly life. Learn and plan a suitable life in 21st Century society
3 ชั่วโมง
    1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
     1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอนให้มีระเบียบวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยการกำหนดกฎระเบียบการเข้าเรียน เช่น
- การเข้าเรียน
- การแต่งกาย
- การรับผิดชอบส่งงาน
- การติดตามผลการเรียน
- การทำงานกลุ่มร่วมกัน
วิธีการวัด โดย การปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ ได้แก่
- เข้าเรียนสม่ำเสมอ
- แต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย
- ส่งงานถูกต้องครบถ้วน
- มีการติดตามผลการเรียน
- มีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
การประเมินผล โดย ความถี่ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่กำหนดไว้ แล้วประมวลเป็นคะแนนจิตพิสัยร้อยละ 10
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
มีการให้ความรู้โดย
1. การบูรณาการศาสตร์เพื่อเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก ให้มีจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม การต่อต้านทุจริตและคอรัปชั่น
2. ทักษะการคิดเชิงระบบ รู้เท่าทันเทคโนโลยี การใช้ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่พึงประสงค์ สามารถเรียนรู้และวางแผนชีวิตที่เหมาะสมในสังคมแห่งการเรียนรู้
วิธีการวัด โดยการประเมินการใช้ความรู้พื้นฐาน โดยพิจารณาจาก
- การใช้ความรู้พื้นฐานมาเป็นหลักในการถอดบทเรียนกิจกรรม และการนำความรู้พื้นฐานมาใช้ในโครงงาน
- มีการบูรณาการในวิชาชีพและศาสตร์อื่นๆ ที่เป็นปัจจุบัน
การประเมินผล โดยการให้คะแนน ตาม
- มีแสดงการใช้ความรู้พื้นฐานในหัวข้อต่างๆ ตามแต่ละกิจกรรม
- มีแสดงถึงการบูรณาการความรู้กับวิชาชีพและศาสตร์ปัจจุบัน
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
มีฝึกทักษะทางปัญญาโดย การถอดบทเรียนจาก
- การทำกิจกรรม
- การทำโครงงาน
วิธีการวัด โดย
- มีการแสดงระบบกระบวนการคิดในแต่ละกิจกรรม และในโครงงาน
การประเมินผล โดยการให้คะแนนตามความครบถ้วนของการแสดงระบบกระบวนการคิด ได้แก่
- มีขั้นตอนกระบวนการคิด
- มีหลักการคิดในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะ มีการให้เหตุผลที่ชัดเจน สมเหตุสมผล
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มีการฝึกทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์โดย
- การทำงานกลุ่ม
- การเรียนรู้ การรับฟังผู้อื่น มารยาทในการฟังผู้อื่น
- มารยาทการใช้และรับผิดชอบพื้นที่สาธารณะร่วมกัน
วิธีการวัด โดย การสังเกตจาก
- การทำงานร่วมกัน
- มารยาทในการพูดและการฟังผู้อื่น
- มารยาทในการใช้และรับผิดชอบพื้นที่สาธารณะร่วมกัน
การประเมินผล โดยการให้คะแนนจาก
- ความร่วมมือในการทำงานร่วมกัน
- การพูด-การรับฟัง และการมีส่วนรวมในแสดงความคิดเห็น
- ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการใช้พื้นที่สาธารณะร่วมกัน
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
    5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีการฝึกทักษะทางตัวเลขและเทคโนโลยีโดย
- การเลือกรูปแบบวิธีนำเสนอโครงงาน
- การใช้ภาษาในการสื่อสารได้เหมาะสม ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
วิธีการวัด พิจารณาจาก
- รูปแบบการนำเสนองาน
- การใช้ภาษาได้เหมาะสม ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ
การประเมินผล โดยให้คะแนนจาก
- มีรูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม
- มีการใช้ภาษาเขียนและภาษาพูดได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และสื่อความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN703 ศิลปะการใช้ชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล