โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม

Engineering Metallurgy

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือในการศึกษาโครงสร้างโลหะ เครื่องมือทดสอบคุณสมบัติทางกล และเครื่องมือสำหรับปรับปรุงคุณสมบัติโลหะด้วยความร้อน เข้าใจถึงโครงสร้างผลึกของโลหะ และส่วนประกอบของโลหะเจือ ตลอดจนมีทักษะในการเตรียมชิ้นงานเพื่อการตรวจสอบเกรนโลหะ ทักษะในการปรับปรุงคุณสมบัติเหล็กกล้าด้วยความร้อน ทักษะในการเตรียมชิ้นงานเพื่อการทดสอบทางกล และมีเจตคติที่ดีต่อวิชาโลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในงานทางโลหะวิทยา โครงสร้างของโลหะและการแข็งตัว คุณสมบัติเชิงกลและการเปลี่ยนรูปของโลหะ การเกิดผลึกใหม่ แผนภาพสมดุล แผนภาพเหล็ก-เหล็กคาร์ไบด์ เหล็กกล้าผสมและเหล็กกล้าเครื่องมือ การวิเคราะห์โครงสร้างมหภาคและจุลภาคของโลหะ การปรับปรุงคุณสมบัติเหล็กกล้าด้วยวิธีการทางความร้อน การชุบแข็ง การชุบผิวแข็ง การอบอ่อนและการอบปกติ
ข้อ 2) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(ข้อ 3) มีวินัย ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
(ข้อ 5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
(ข้อ 2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา
(ข้อ 1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ\เละทฤษฎีที่ส าคัญในเนื้อหาสาขาวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 (ข้อ 3) สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ
องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
 (ข้อ 2) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
(ข้อ 3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(ข้อ 4) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
(ข้อ 2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
(ข้อ 2) สามารถแนะน าประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
(ข้อ 3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
(ข้อ 1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 3) มีวินัย ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา 1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ\เละทฤษฎีที่ส าคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3) สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 2) สามารถแนะน าประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 ENGIE110 โลหะวิทยาเชิงวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม สังเกตุการให้ความร่วมมือในการทำความสะอาดเครื่องมือ และการเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอ 1-17 10
2 ทักษะทางปัญญา -ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ -ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ -ทักษะพิสัย ความเรียบร้อยของผลงานที่ส่ง การสรุปค่าความแข็งชิ้นงาน 2-8, 10-16 30
3 ความรู้ สอบข้อเขียนกลางภาค 9 30
4 ความรู้ สอบข้อเขียนปลายภาค 17 30
วีระพันธ์ สิทธิพงศ์ ผศ. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร ภาค 1, โรงพิมพ์นิยมวิทยา, 2531.
วีระพันธ์ สิทธิพงศ์ ผศ. โลหะวิทยากายภาพสำหรับวิศวกร ภาค 2, โรงพิมพ์นิยมวิทยา, 2533.
ณรงค์ศักดิ์ ธรรมโชติ ผศ. โลหวิทยา, พิมพ์ครั้งที่ 2, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560.
มนัส สถิรจินดา รศ. วิศวกรรมการอบชุบเหล็ก, โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531.
มนัส สถิรจินดา รศ. เหล็กกล้า, ห้างหุ้นส่วนจำกัด ป.สัมพันธ์พาณิชย์, 2529.
มนัส สถิรจินดา รศ. เหล็กหล่อ, ห้างหุ้นส่วนจำกัด ป.สัมพันธ์พาณิชย์, 2527.
วิวัฒน์ โตนิล. โลหะวิทยา, บริษัท ซีเอ็ดยูเคขั่น จำกัด(มหาชน), 2558.
Avner, Sidney H. Introduction to Physical Metallurgy, 2nd edition, McGraw-Hill Book Company, Singapore, 1974.
Colangelo, V.J., Heiser, F.A. Analysis of Metallurgical Failures, 2nd Edition, John Wiley & Sons (SEA) Pte Ltd, Singapore, 1989.
Smallman, R.E., Bishop, R.J. Modern Physical Metallurgy and Materials Engineering: Science, process and applications, 6th Edition, Butterworth-Heinemann, Oxford, Great Britain, 1999.