โครงงานทัศนศิลป์
Project in Visual Art
1. ศึกษาค้นคว้าสามารถรู้และเข้าใจ วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลความรู้ทางด้านทัศนศิลป์
2. ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ มีกระบวนการสร้างสรรค์อย่างชัดเจน
3. มีการแสดงให้เห็นถึงแนวคิดบุกเบิกและมีผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะไปสู่แนวใหม่
2. ปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ มีกระบวนการสร้างสรรค์อย่างชัดเจน
3. มีการแสดงให้เห็นถึงแนวคิดบุกเบิกและมีผลงานการสร้างสรรค์ศิลปะไปสู่แนวใหม่
ยังเป็นการเปิดสอนในภาคการศึกษาแรกของหลักสูตร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติวิเคราะห์ลักษณะรูปแบบการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ การสร้างคุณค่าความชัดเจนด้านกระบวนการสร้างสรรค์ ปฏิบัติงานสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์ เน้นการบุกเบิกสร้างงานศิลปะไปสู่แนวใหม่
Analysis of characteristics in creating visual art; establishment of clear values in creative processes; operation of creative works on visual art; emphasis on pioneering to create art work on a new path.
Analysis of characteristics in creating visual art; establishment of clear values in creative processes; operation of creative works on visual art; emphasis on pioneering to create art work on a new path.
2 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับกรณีต่างๆ
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและความตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2 วิธีการสอน
กำหนดให้มีการปลูกฝังให้้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา รู้จักระเบียบวินัย มารยาทในชั้นเรียน สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทำความดีและเสียสละ รู้จักจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
กำหนดให้มีการปลูกฝังให้้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา รู้จักระเบียบวินัย มารยาทในชั้นเรียน สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ยกย่องและเชิดชูผู้ที่ทำความดีและเสียสละ รู้จักจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในวิชาสอน ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การตรงเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในวิชาสอน ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอน และ ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม การตรงเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลา ที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
2.1.1 มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญใน
เนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้
คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
1.2.1 อภิปรายและแลกเปลี่ยนความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานทางทัศนศิลป์
1.2.2 นำเสนอหรือแสดงความคิดเห็นความรู้ที่สนับสนุนต่อการสร้างสรรค์ผลงาน
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
มีความรู้ความเข้าใจในนวัตกรรมทางศิลปะร่วมสมัย เข้าใจถึงวิธีการสร้างสรรค์
ตลอดจนถึงจุดมุ่งหมาย เนื้อหาในการสร้างสรรค์
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ คือ
การส่งงานในโครงงาน การประเมินจากความรู้ความเข้าใจ จากการแสดงความคิดเห็น
การนำเสนอผลงานตามความรู้ที่ได้รับ ที่มาจากการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้สืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลเพื่อพัฒนาผลงานสร้างสรรค์
เน้นการฝึกให้ตั้งข้อสังเกต ฝึกการตั้งคำถาม ฝึกการคิดจากข้อมูลการศึกษาในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
โดยจัดกิจกรรมการสอนที่ให้มีส่วนร่วมได้ใช้ความคิดเห็นร่วมกัน สอดแทรกตัวอย่างที่เกิดจากการ
ใช้ทักษะทางปัญญา เช่น การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองในด้านใดอย่างไร
ที่ทำให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดทั้งต่อตนเองและสังคม อีกทั้งยังมุ่งเน้นให้มีการทำบทความวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานทางทัศนศิลป์ด้วย
สังเกตพัฒนาการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ความสนใจความตั้งใจในการแสวงหาความรู้
สังเกตวิธีคิดในการตั้งคำถาม หาคำตอบและแนวทางแก้ไขปัญหา พิจารณาพัฒนาการการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ที่สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีไหวพริบสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างเหมาะสม
มีไหวพริบสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างเหมาะสม
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม
มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม
การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น
และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรม
ที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆภายในชั้นเรียน และการประเมินผลจากการจัดแสดงผลงานสู่ผู้ที่สนใจในผลงาน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง
แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
ค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล
การนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข
การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
ประเมินจากการอภิปรายรายบุคคล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | มีวินัย ขยันอดทน ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | มีความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์หลักการและทฤษฎีสำคัญในเนื้อหาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา | สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และให้คำปรึกษาด้านศิลปะและการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานแก่ผู้อื่นได้เป็นอย่างดี | มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ | มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม | สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1 | MAAAC115 | โครงงานทัศนศิลป์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | คุณธรรมจริยธรรม | - การเข้าชั้นเรียน ขาด ลา มาสาย - การถาม-ตอบในชั้นเรียน การมีวินัย | 1-18 | 6% |
2 | ความรู้ | ผลการศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล รู้รายละเอีบดความรู้ อย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ | 1-18 | 30% |
3 | ทักษะทางปัญญา | ผลการสร้างสรรค์มีความสอดคล้องกับความเป็นผลงานทางทัศนศิลป์ เป็นผลงานศิลปะบุกเบิกแบบใหม่ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และพัฒนาแนวคิด ผลงานของตนเองได้ มีไหวพริบและสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในผลงานสร้างสรรค์ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1-18 | 60% |
4 | ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | การถามตอบในชั้นเรียน มีความเป็นผู้นำและผู้ฟังที่ดี สามารถทำงานเป็นกลุ่มได้ การนำเสนอผลงานต่อผู้ที่สนใจ | 1-18 | 2% |
5 | ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | การใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการค้นคว้าเพื่อการจัดทำรายงานแบบกลุ่มหรือเดี่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 1-18 | 2% |
ถนอม ชาภักดี. 2540. “ฤกษ์ฤทธิ์ ตีระวนิช Chef-Conceptual Artist.” เนชั่น สุดสัปดาห์ 28 กุมภาพันธ์, 66 - 67
มาร์ค ไทรบ์/ รีนา จานา. (2552). นิวมีเดียอาร์ต (สำราญ หม่อมพกุลและวรพจน์ สัตตะ
พันธ์คีรี, แปล). เชียงใหม่ไฟน์อาร์ต.
รศ.จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่20. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2552
เซบาสเตียน ตายาค/ เรเน่ สมิทธิ์. (2551). From Relational Aesthetics to
Altermodern (สมเกียรติ ตั้งนโม, แปล). สืบค้น 10 กันยายน 2563, จากhttp://midnightuniv.tumrai.com/midnighttext/000921.doc
Poshyananda, Apinan. 1996. Contemporary Art in Asia: Traditions, Tensions. New York: Asia Society Galleries.
Rawanchaikul, Navin. 2008. Navin’s Sala: Navin Production’s International Art & Life Magazine. Chiangmai: Navin Production
Saltz, Jerry. 1996. “A Short History of RirkritTiravanija.” Art in America 84, 2 (February): 82.
Alexander, V. D. (2003). Sociology of the Arts: Exploring Fine and
Popular Forms. Wiley Publishing Company. USA.
Ahmed, S. U. (2018). Human-Computer Interaction. Interaction in
Context, Interaction and Interactivity: in the context of
digital interactive art installation. 20th International Conference, HCI International 2018, Las Vegas, NV, USA, July 15–20, 2018, Proceedings, Part II.
Art Marketing 101: How to Promote Your Art. (2018). Retrieved 8 December
2020 from https://www.format.com/magazine/resources/art/how-
to-promote-your-art
Auslander, P. (1997). From acting to performance. Routledge. London
Bird, M. (2012). 100 ideas that changed art. Laurence King Publishing.
London.
Bourriaud, N. (2002). Relational Aesthetics. Les presses du reel. France
Ekim, B. (2011). Video Mapping Projection Conceptual Design and
Application. The Turkish Online Journal of Design, Art and Design (TOJDAC). Istanbul Aydın University.
Goldberg, R. (1996). Performance art from futurism to the present.
Thames & Hudson. London.
Ippoloto, J. (2002). Ten Myths of Internet Art. The MIT Press company.
USA.
Marcos, A., Branco, P., & Zagalo, N. (2009). Handbook of Digital
Media in Entertainment and Arts: The Creation Process in
Digital Art. Springer Science & Business Media. German
Marcos, A., Branco, P., & Carvalho, J. A. (2009). The Computer
Medium in Digital Art's Creative Process. IGI Global. USA.
Mccarthy, K. F., Ondaatje, & Heneghan, E. (2001). The Chapter:
development of media art: Celluloid to cyberspace.
Retrieved 1 December 2020 from https://apps.dtic.mil/dtic/tr/
fulltext/u2/a411844.pdf
McHugh, A., Konstantelos, L., & Barr, M. (2010). Reflections on
Preserving the State of New Media Art. Retrieved 3 December 2020 from http://eprints.gla.ac.uk/45956/
Quaranta, D. (2013). Beyond New Media Art. Lulu Press, Inc. USA.
Sampanikou, E. (2015). New media art. Retrieved 14 December 2020
https://www.researchgate.net/publication/303425493
_New_media_art
ŞANGÜDER, M. K. (2016). Cyborg Formations in Art. Journals:
International Journal of Social Relevance & Concern. Retrieved 2
December 2020 from https://www.researchgate.net/
publication/321747904_Cyborg_Formations_in_Art
Smith, K. (2001). The experimental turn in the visual art. Retrieved 7
December 2020 from https://www.academia.edu/9404121/
The_Experimental_Turn_in_the_Visual_Arts
Søndergaard, M. (2002). Sound Art – a trans-aesthetic project.
Retrieved 16 December 2020 from https://www.researchgate.net/
publication/264457362_Sound_Art_An_Inter-aesthetic_Project
Stalker, P. J. (2006). Gaming in art. Retrieved 12 December 2020 from
https://www.semanticscholar.org/paper/Gaming-in-art%3A-A-case-
study-of-two-examples-of-the-Stalker/4be0c31dfeb97a8b38598
6d7837fc6b0f80ca500
Stokstad, M. (2001). Art History. London.
มาร์ค ไทรบ์/ รีนา จานา. (2552). นิวมีเดียอาร์ต (สำราญ หม่อมพกุลและวรพจน์ สัตตะ
พันธ์คีรี, แปล). เชียงใหม่ไฟน์อาร์ต.
รศ.จิระพัฒน์ พิตรปรีชา. โลกศิลปะศตวรรษที่20. กรุงเทพ:สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2552
เซบาสเตียน ตายาค/ เรเน่ สมิทธิ์. (2551). From Relational Aesthetics to
Altermodern (สมเกียรติ ตั้งนโม, แปล). สืบค้น 10 กันยายน 2563, จากhttp://midnightuniv.tumrai.com/midnighttext/000921.doc
Poshyananda, Apinan. 1996. Contemporary Art in Asia: Traditions, Tensions. New York: Asia Society Galleries.
Rawanchaikul, Navin. 2008. Navin’s Sala: Navin Production’s International Art & Life Magazine. Chiangmai: Navin Production
Saltz, Jerry. 1996. “A Short History of RirkritTiravanija.” Art in America 84, 2 (February): 82.
Alexander, V. D. (2003). Sociology of the Arts: Exploring Fine and
Popular Forms. Wiley Publishing Company. USA.
Ahmed, S. U. (2018). Human-Computer Interaction. Interaction in
Context, Interaction and Interactivity: in the context of
digital interactive art installation. 20th International Conference, HCI International 2018, Las Vegas, NV, USA, July 15–20, 2018, Proceedings, Part II.
Art Marketing 101: How to Promote Your Art. (2018). Retrieved 8 December
2020 from https://www.format.com/magazine/resources/art/how-
to-promote-your-art
Auslander, P. (1997). From acting to performance. Routledge. London
Bird, M. (2012). 100 ideas that changed art. Laurence King Publishing.
London.
Bourriaud, N. (2002). Relational Aesthetics. Les presses du reel. France
Ekim, B. (2011). Video Mapping Projection Conceptual Design and
Application. The Turkish Online Journal of Design, Art and Design (TOJDAC). Istanbul Aydın University.
Goldberg, R. (1996). Performance art from futurism to the present.
Thames & Hudson. London.
Ippoloto, J. (2002). Ten Myths of Internet Art. The MIT Press company.
USA.
Marcos, A., Branco, P., & Zagalo, N. (2009). Handbook of Digital
Media in Entertainment and Arts: The Creation Process in
Digital Art. Springer Science & Business Media. German
Marcos, A., Branco, P., & Carvalho, J. A. (2009). The Computer
Medium in Digital Art's Creative Process. IGI Global. USA.
Mccarthy, K. F., Ondaatje, & Heneghan, E. (2001). The Chapter:
development of media art: Celluloid to cyberspace.
Retrieved 1 December 2020 from https://apps.dtic.mil/dtic/tr/
fulltext/u2/a411844.pdf
McHugh, A., Konstantelos, L., & Barr, M. (2010). Reflections on
Preserving the State of New Media Art. Retrieved 3 December 2020 from http://eprints.gla.ac.uk/45956/
Quaranta, D. (2013). Beyond New Media Art. Lulu Press, Inc. USA.
Sampanikou, E. (2015). New media art. Retrieved 14 December 2020
https://www.researchgate.net/publication/303425493
_New_media_art
ŞANGÜDER, M. K. (2016). Cyborg Formations in Art. Journals:
International Journal of Social Relevance & Concern. Retrieved 2
December 2020 from https://www.researchgate.net/
publication/321747904_Cyborg_Formations_in_Art
Smith, K. (2001). The experimental turn in the visual art. Retrieved 7
December 2020 from https://www.academia.edu/9404121/
The_Experimental_Turn_in_the_Visual_Arts
Søndergaard, M. (2002). Sound Art – a trans-aesthetic project.
Retrieved 16 December 2020 from https://www.researchgate.net/
publication/264457362_Sound_Art_An_Inter-aesthetic_Project
Stalker, P. J. (2006). Gaming in art. Retrieved 12 December 2020 from
https://www.semanticscholar.org/paper/Gaming-in-art%3A-A-case-
study-of-two-examples-of-the-Stalker/4be0c31dfeb97a8b38598
6d7837fc6b0f80ca500
Stokstad, M. (2001). Art History. London.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสรรค์งานศิลปะ ทั้งในห้องสมุดและสถานที่จริง
- หอศิลปวัฒนธรรม ต่างๆในประเทศไทย
- วัดต่างๆที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
- แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย
- โรงงานอุตสาหกรรมทางด้านศิลปะที่มีชื่อเสียง
- แกลลอรี่
- บ้านศิลปินแห่งชาติ
- พิพิธภัณฑ์
- หอศิลปวัฒนธรรม ต่างๆในประเทศไทย
- วัดต่างๆที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
- แหล่งท่องเที่ยวทางด้านศิลปะที่สำคัญในประเทศไทย
- โรงงานอุตสาหกรรมทางด้านศิลปะที่มีชื่อเสียง
- แกลลอรี่
- บ้านศิลปินแห่งชาติ
- พิพิธภัณฑ์
วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ - Art 4D - Fine Arts - Aesthetica - The Art and Culture Magazine - ART PAPERS, based in Atlanta, US สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับผลงานสร้างสรรค์ศิลปะ http://www.deviantart.com/ http://www.art.net/ www.artinfo.com http://www.artbabble.org/ http://www.artcyclopedia.com/ http://www.artdaily.org/ http://www.theartsmap.com/ http://www.blackbird.vcu.edu/ http://designobserver.com/ http://www.interartcenter.net/
1.1 สอบถามความคิดเห็นจากนักศึกษาเมื่อจบเนื้อหานั้น
1.2 นักศึกษาประเมินการสอนจากแบบสอบถาม เว็บไซต์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.1 การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4 ผลการค้นคว้าจากรายงานของนักศึกษา
2.5 เชิญผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกเข้าร่วมในการเรียนการสอน
2.6 ผลการประเมินจากการให้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ที่นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
3.2 การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4.1 กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
4.2 ทวนสอบจากคะแนนการปฏิบัติ หรืองานที่มอบหมายจากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
4.3 ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 1 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย
5.3 นำผลที่ได้จากการสอบถามความคิดเห็น คะแนนสอบของนักศึกษา การประชุมสัมมนานำมา สรุปผล และพัฒนารายวิชาก่อนการสอนในภาคเรียนต่อไป