กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา

Process of Thinking and Problem Solving

1.1 เข้าใจแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับกระบวนการคิด
1.2 วิเคราะห์ให้เหตุผลในการนำกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
1.3 มีความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยี  สมัยใหม่
1.4 ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและกระบวนการพัฒนาการฝึกคิดแบบต่างๆ หลักการใช้เหตุผล แรงบันดาลใจ ส่งเสริมความคิดโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นกรณีศึกษา
      Study concepts, theories, techniques and development processes for thinking and reasoning; inspiration for encouraging ideas; Lanna and Thai wisdom; innovation and modern technologies are employed as a case study.
45  ชั่วโมง
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š  2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
1. การสอบย่อย
2. การนำเสนอผลงาน
3. รายงาน
4. ผลงานนิทรรศการ
  3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การนำเสนอผลงาน
2. ผลงานนิทรรศการ
1. การนำเสนอผลงาน
2. รายงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
พิจารณาจากการทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น หรือการค้นคว้าหาข้อมูล
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
พฤติกรรมการแสดงออกในระหว่างดำเนินกิจกรรม
 
1. การนำเสนอผลงาน
2. รายงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
˜ 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม       
    5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดำเนินการสอนที่นักศึกษาต้อง ติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูลและนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ  สำหรับ
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
ประเมินจากผลงานของนักศึกษาในระหว่างดำเนินกิจกรรม
 
1. การนำเสนอผลงาน
2. รายงาน
3. ผลงานนิทรรศการ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN101 กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3, 1.4 ,4.1,4.2, 4.4 การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ความสนใจในชั้นเรียน 1-15 7%
2 1.1, 1.3 , 1.4 ,2.2, 3.2, 4.1 5.1 1.3, 2.3, 4.2, 4.4 ,5.3 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 9-12 35%
3 2.2, 3.2 การทดสอบย่อย 7 ครั้ง 2 - 8 28%
4 1.1, 1.3 , 1.4 ,2.2, 3.2, 4.1 5.1 1.3, 2.3, 4.2, 4.4 ,5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 13-14 10%
5 1.1, 1.3 , 1.4 ,2.2, 3.2, 4.1 5.1 1.3, 2.3, 4.2, 4.4 ,5.3 การแสดงผลงานนิทรรศการ 15 20%
1. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงวิพากษ์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
2. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงวิเคราะห์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
3. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงสังเคราะห์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
4. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงระบบ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
5. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงมโนทัศน์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
6. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงสร้างสรรค์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
7. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงกลยุทธ์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
เอกสารประกอบการเรียนการสอน “กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา”  โดย คณาจารย์ผู้สอน 
 
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
กำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนซึ่งมีหน้าที่สังเกตการณ์สอน ซึ่งคณะกรรมการฯ จะถูกแต่งตั้งโดย ประธานกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป
 กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปได้มีวิธีการปรับปรุงการสอน อาทิ มีการประชุมกลุ่มผู้สอนเพื่อกำหนดเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละเทอม  มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเขตพื้นที่เพื่อรับทราบปัญหาและอุปสรรคเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน  การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน   เป็นต้น
ยังไม่ได้ดำเนินการ
หลังจากสิ้นสุดปีการศึกษา  ทางกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน  โดยจะมีการศึกษาดูงานที่ มหาวิทยาลัยต่างๆ  มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทั้งภายในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย  รวมไปถึงการรับทราบปัญหาและอุปสรรค์  แนวทางปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนการสอน  เพื่อนำมาเป็นต้นแบบในการปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา