กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา

Problem Solving and Thinking Process

1.1 เข้าใจแนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและกระบวนการพัฒนาการฝึกคิดแบบต่างๆ 1.2 วิเคราะห์ให้เหตุผลในการนำกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ 1.3 มีความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ 1.4 ประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เทคนิคและกระบวนการพัฒนาการฝึกคิดแบบต่างๆ ทักษะการคิดเพื่อการแก้ปัญหา หลักการใช้เหตุผล การสร้างแรงบันดาลใจ กระบวนการคิดและแก้ปัญหาโดยนำภูมิปัญญาท้องถิ่นภูมิปัญญาไทย นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นกรณีศึกษา       Study concepts, theories, techniques and processes for developing different types of critical thinking , reasoning principles , and inspiration initiation. Practice problem - solving skills by applying local wisdom , thai wisdom, modern innovation and technology as a case study. 
2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ 
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1) สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
(2) ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายให้ตรงเวลา
(3) ใช้กิจกรรมในการส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ และปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 
 
(1) การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
(2) ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(3) ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง
(1) ใช้กรณีศึกษา 
(2) การนำเสนอรายงาน  
(1) การสอบย่อย
(2) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(3) งานที่ได้รับมอบหมาย
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
(1) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง
(2) ใช้กรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
(1) การปฏิบัติตามบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
(2) การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ปัญหาในบริบทต่างๆ
(3) การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
(4) การใช้แบบทดสอบ
(1)  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2)  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(3)  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4)  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
(1)  กำหนดกิจกรรมกลุ่ม 
(2)  มอบหมายงาน ส่งเสริมภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
(3)  ใช้กรณีศึกษาที่สอดคล้องกับศาสตร์
(1) พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
(2) พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
 
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถุกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
(1) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
(2) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
(3) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
(1)  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
(2) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
(3) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (1) มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม (2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม (4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2) สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู้ ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา (3) สามารถบูรณาการความรูู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ (1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี (2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม (3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม (1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม (2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม (3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถุกต้องตามกาลเทศะและสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 GEBIN701 กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
2 1.1, 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.2, 4.1, 4.2, 4.4, 5.1, 5.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ความสนใจในชั้นเรียน การแสดงออก การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1 - 15 35%
3 2.2, 3.2 การทดสอบย่อย 7 ครั้ง 2 - 8 35%
4 1.1, 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.2, 4.1, 4.2, 4.4, 5.1, 5.3 การนำเสนองาน / การรายงาน 13 - 14 30%
1. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงวิพากษ์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
2. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงวิเคราะห์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
3. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงสังเคราะห์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
4. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงระบบ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
5. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงมโนทัศน์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
6. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงสร้างสรรค์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
7. ศ.ดร.เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์ (2553). การคิดเชิงกลยุทธ์ พิมพ์ครั้งที่ 8   กรุงเทพฯ : ซัคเซสมีเดีย
เอกสารประกอบการเรียนการสอน “กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา”  โดย คณาจารย์ผู้สอน 
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย
กำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนซึ่งมีหน้าที่สังเกตการณ์สอน ซึ่งคณะกรรมการฯ จะถูกแต่งตั้งโดย ประธานกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปได้มีวิธีการปรับปรุงการสอน อาทิ มีการประชุมกลุ่มผู้สอนเพื่อกำหนดเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละเทอม  มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างเขตพื้นที่เพื่อรับทราบปัญหาและอุปสรรคเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอน  การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  เป็นต้น
ยังไม่ได้ดำเนินการ
หลังจากสิ้นสุดปีการศึกษา  ทางกลุ่มวิชาศึกษาทั่วไปได้มีการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน  โดยจะมีการศึกษาดูงานที่ มหาวิทยาลัยต่างๆ  มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทั้งภายในมหาวิทยาลัยและนอกมหาวิทยาลัย  รวมไปถึงการรับทราบปัญหาและอุปสรรค์  แนวทางปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนการสอน  เพื่อนำมาเป็นต้นแบบในการปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา