ปฏิบัติการสำรวจ

Surveying Practice

เพื่อให้นักศึกษาเกิดทักษะในการใช้อุปกรณ์เครื่องมือวัดชนิดต่างๆในงานสํารวจ โดยการฝึกปฏิบัติในการ วัดระยะ การระดับ การวัดมุม การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนของการวัด งานวงรอบ งานโครงข่ายสามเหลี่ยม งานสํารวจเก็บรายละเอียดงานเขียนแผนผังภูมิประเทศ งานสำรวจในงานก่อสร้าง และการรังวัดด้วยดาวเทียม
เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินการสอนให้มีความชัดเจน ทั้งในเนื้อหาวิชา ระยะเวลาที่ใช้ แต่ละหัวข้อ การจัดกิจกรรมการสอน และการประเมินผลได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่กําหนด
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการวัดระยะ การทำระดับ การวัดมุม การทำวงรอบ การเก็บรายละเอียด การเขียนแผนที่ภูมิประเทศ การรังวัดด้วยดาวเทียม การกำหนดตำแหน่งในงานก่อสร้าง และการออกฝึกภาคสนามไม่น้อยกว่า 80 ชั่วโมง
ตามความเหมาะสมแต่ละบุคคล
1 คุณธรรมพื้นฐาน การตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ การรักษาวินัย ปฏิบัติตนตามกฎกติกาของสังคมรักความเป็นระเบียบ ความสะอาด ความประหยัด จิตสาธารณะ สามารถทํางานเป็นหมู่คณะ
2 ภาวะผู้นํา และผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสังคม รู้จักสิทธิและหน้าของตนเอง ไม่ก้าวล้ําสิทธิและหน้าที่ของบุคคลอื่น ฯ
.3 .ตระหนักในคุณค่าและเห็นความสําคัญของทรัพยากร
4. มีความประณีตในการใช้เครื่องมืออย่างถูกวิธี ระวังรักษาและป้องกันมิให้เกิดความเสียหาย 
1. ผู้สอนต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้เป็นที่ยอมรับของนักศึกษา
2. ทุกครั้งในการสอนพยายามหาโอกาสสอดแทรกและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
3. ยกกรณีศึกษาจากข่าวหรือจากเหตุการณ์ทั้งทางดีและทางร้ายให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดเห็น
4. ชี้ให้เห็นถึงความยากในการจัดหาเครื่องมือแต่ละอย่าง
5. ผู้สอนต้องควบคุมตรวจสอบการเบิกเครื่องมือที่ใช้และการจัดเก็บ
ประเมินจากพฤติกรรมที่นักศึกษาแสดงออก
1. มีทักษะการปฏิบัติงานสำรวจที่ถูกต้อง
2. มีความชำนาญในการใช้เครื่งมือสำรวจ
3. เข้าใจหลักการปฏิบัติงานสำรวจอย่างลึกซึ้ง
1. ก่อนลงมือฝึกปฏิบัติแต่ละเรื่อง ผู้สอนต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการใช้เครื่องมือ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติการบันทึกข้อมูล และการคํานวณผล โดยแสดงตัวอย่างประกอบ
2. ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติ ผู้สอนคอยติดตามสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน
1. ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมการฝึก
2. ประเมินจากความถูกต้องของผลงาน
สามารถเรียนรู้และปฏิบัติงานสำรวจได้อย่างถูกต้อง
มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
1 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมการฝึก 2 ประเมินจากความถูกต้องของผลงาน
สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่มและให้ตัวแทนนำเสนองานกลุ่ม
ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์
สามารถใช้โปรแกรมประยุกต์ในการปฏิบัติงานสำรวจได้ถูกต้อง
แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาทำรายงาน
ประเมิณจากความถูกต้องของรายงาน
1. สามารถนำความรู้ด้านการสำรวจไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
2. สามารถใช้อุปกรณ์การสำรวจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 มอบหมายให้นักศึกษษาทำรายงาน
ประเมิณจากความถูกต้องของรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษาะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. ผู้สอนต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้เป็นที่ยอมรับของนักศึกษา 2. ทุกครั้งในการสอนพยายามหาโอกาสสอดแทรกและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม 3. ยกกรณีศึกษาจากข่าวหรือจากเหตุการณ์ทั้งทางดีและทางร้ายให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดเห็น 4. ชี้ให้เห็นถึงความยากในการจัดหาเครื่องมือแต่ละอย่าง 5. ผู้สอนต้องควบคุมตรวจสอบการเบิกเครื่องมือที่ใช้และการจัดเก็บ 1. ก่อนลงมือฝึกปฏิบัติแต่ละเรื่อง ผู้สอนต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ วิธีการใช้เครื่องมือ ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติการบันทึกข้อมูล และการคํานวณผล โดยแสดงตัวอย่างประกอบ 2. ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติ ผู้สอนคอยติดตามสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่มและให้ตัวแทนนำเสนองานกลุ่ม แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาทำรายงาน มอบหมายให้นักศึกษษาทำรายงาน
1 ENGCV302 ปฏิบัติการสำรวจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทักษะเกี่ยวกับเครื่องมือวัดในงานสํารวจ,ทักษะในงานระดับ,ทักษะในงานวัดมุม,ทักษะในงานวัดทิศทาง, ทักษะในการหาระยะทางและความสูงโดยประยุกต์จากมุม,ทักษะในงานวงรอบปิด,ทักษะในงานโครงข่ายสามเหลี่ยม, ทักษะในการเก็บรายละเอียดเพื่อเขียนแผนผังภูมิประเทศ, ทักษะการรังวัดด้วยดาวเทียมม และทักษะการสำรวจในงานก่อสร้าง รายงานและสอบปฏิบัติ 1-17 100/100
1. A. BANNISTER & S. RAYMOND, SURVEYING Pitman Publishing 1972 2. CHARLES B. BREED & GEORGE L HOSMER, THE PRINCPLES AND PRACTICE OF SURVEYING John WiIEY & Son New York 1958 3. ยรรยง ทรัพย์สุขอํานวย SURVEYING ไทยแลนด์การพิมพ์ 2525 4. สมศักดิ์ เอื้ออัชฌาสัย วิศวกรรมสํารวจ 2 ซุปเปอร์พริ้นท์ จํากัด กรุงเทพ 2552 5. PHILLIP G.MANKE & DAVIS M. MACALPINE. LABORATORY MANUAL FOR SURVEYING OKLAHOMA STATE UNIVERSITY 1981  6. เอกสารคำสอนวิชาการสำรวจ
สอบถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
รายงานและสอบปฏิบัติงาน
เพิ่มเติมเนื้อหาให้ทันสมัย
รายงาน
หลังรวมรวมคะแนนในแต่ละเทอม