การสำรวจ

Surveying

เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในงานสํารวจในส่วนที่เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้น การวัดระยะ การระดับ การวัดมุม การใช้อุปกรณ์เครื่องมือวัดชนิดต่างๆที่ใช้ในงานสํารวจและใช้ผลที่ได้จากการสํารวจเป็นข้อมูลสําหรับสร้างงานอื่นในงานวิศวกรรมโยธา
เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินการสอนให้มีความชัดเจน ทั้งในเนื้อหาวิชา ระยะเวลาที่ใช้ แต่ละหัวข้อ การจัดกิจกรรมการสอนและการประเมินผลได้ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่กําหนด
ศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจเบื้องต้น การทำระดับ หลักการและการประยุกต์ใช้กล้องวัดมุมในการวัดระยะและทิศทาง ความคลาดเคลื่อนและชั้นงานในการสำรวจ การปรับแก้ข้อมูล โครงข่ายสามเหลี่ยม การหาแอซิมัธและระบบพิกัดทางราบของงานวงรอบอย่างละเอียด การทำวงรอบและค่าระดับอย่างละเอียด การสำรวจและการเขียนแผนที่ภูมิประเทศ ความรู้เบื่องต้นเกี่ยวกับ GNSS
ตามความเหมาะสมกับสถาณการณ์
1. การตรงต่อเวลา ซื่อสัตย์ การรักษาวินัย ปฏิบัติตนตามกฎกติกาของสังคมรักความเป็นระเบียบ
2.รักษาความสะอาดบริเวณห้องเรียน มีจิตสาธารณะ
3. ภาวะผู้นํา และผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบต่อตนเองต่อผู้อื่นและต่อสังคม รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตนเอง ไม่ก้าวล้ำสิทธิและหน้าที่ของบุคคลอื่น
1. ผู้สอนต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ให้เป็นที่ยอมรับของนักศึกษา
2. ทุกครั้งในการสอน พยายามหาโอกาสสอดแทรกและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม
3. ยกกรณีศึกษาจากข่าว หรือจากเหตุการณ์ทั้งทางดีและทางร้ายให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดเห็น
 1. ประเมินจากพฤติกรรมที่นักศึกษาแสดงออก
2. ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียน
1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการสำรวจและสามารถดูและรักษาอุปกรณ์ที่ใช้ในการสำรวจ
2. สามารถแก้ไขปัญหาหรือปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจได้
3. สามารถนำความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจไปให้ในงานวิศวกรรมโยธาได้อย่างถูกต้อง
สอนโดยการบรรยาย ประกอบการแสดงตัวอย่างการคํานวณ และมอบหมายงานเป็นแบบฝึกหัด
1. ประเมินจากงานแบบฝึกหัดที่มอบหมายให้
2. ประเมินจากการสอบตามระเบียบการวัดผล
สามารถเรียนรู้และศึกษาเนื้อหาของวิชาการสำรวจได้ด้วยตัวเอง
มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ประเมิณจากความถูกต้องของรายงาน
สามารถทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มได้
แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาทำรายงาน
พฤติกรรมและการแสดงออกภายในกลุ่ม
1. สามารถใช้โปรแกรมประยุกต์ในงานสำรวจได้ถูกต้อง
2. เข้าใจทฤษฏีและสามารถใช้สมการร่วมกับโปรแกรมประยุกต์ได้อย่างถูกต้อง
1. สอนบรรยาศพร้อยยกตัวอย่างประกอบ
2. แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาทำรายงาน
ประเมิณจากความถูกต้องของรายงาน
1. สามารถนำความรู้ด้านการสำรวจไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
2. สามารถใช้อุปกรณ์การสำรวจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างงานที่ใช้จริง
2. นำงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอนมาสอดแทรก
3. จัดอบรมหรือศึกษาเพิ่มเติม
4. มอบหมายให้นักศึกษษาทำรายงาน
ประเมิณจากความถูกต้องของรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษาะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ผู้สอนต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้เป็นที่ยอมรับของนักศึกษาทุกครั้งในการสอน พยายามหาโอกาสสอดแทรกและเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ยกกรณีศึกษาจากข่าวหรือจากเหตุการณ์ทั้งทางดีและทางร้ายให้นักศึกษาได้ใช้ความคิดเห็น สอนโดยการบรรยาย ประกอบการแสดงตัวอย่างการคํานวณ และมอบหมายงานเป็นแบบฝึกหัดให้นักศึกษาทํา มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาทำรายงาน สอนบรรยาศพร้อยยกตัวอย่างประกอบ แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาทำรายงาน บรรยายพร้อมยกตัวอย่างงานที่ใช้จริง นำงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอนมาสอดแทรก จัดอบรมหรือศึกษาเพิ่มเติม มอบหมายให้นักศึกษษาทำรายงาน
1 ENGCV301 การสำรวจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.ความรู้พื้นฐานและความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสํารวจ 2.ความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมที่ใช้ในงานสํารวจ 3.ความรู้ในงานระดับ 4.ความรู้ในการวัดมุม 5.ความรู้ในเรื่องของทิศทางของแนวเส้นสํารวจ คะแนนวัดผลประจําภาค 8 30/100
2 6.ความรู้เรื่องแนวเส้นสํารวจและวงรอบ 7. ความรู้ในการสํารวจภูมิประเทศ 8.ความรู้ในการเขียนแผนที่ 9. ความรู้สำรวจในงานก่อสร้าง 10. ความรู้การสำรวจโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ คะแนนวัดผลประจําภาค 17 30/100
3 ผลการเรียนรู้ที่ 1 ถึง 10 รายงานพร้อมนำเสนอในห้องเรียน ๅ16 30/100
4 ผลการเรียนรู้ที่ 1 ถึง 10 จิตพิสัย 1-17 10/100
1. A. BANNISTER & S. RAYMOND, SURVEYING Pitman Publishing 1972
2. CHARLES B. BREED & GEORGE L HOSMER, THE PRINCPLES AND PRACTICE OF SURVEYING John WiIEY & Son New York 1958
3. ยรรยง ทรัพย์สุขอํานวย SURVEYING ไทยแลนด์การพิมพ์ 2525
4. สมศักดิ์ เอื้ออัชฌาสัย วิศวกรรมสํารวจ 2 ซุปเปอร์พริ้นท์ จํากัด กรุงเทพ 2552
5. PHILLIP G.MANKE & DAVIS M. MACALPINE. LABORATORY MANUAL FOR SURVEYING OKLAHOMA STATE UNIVERSITY 1981 
6. เอกสารคำสอนวิชาการสำรวจ
 
สอบถามและให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
การข้อสอบและรายงาน
เพิ่มเติมเนื้อหาให้ทันสมัย
การข้อสอบและรายงาน
หลังรวมรวมคะแนนในแต่ละเทอม