องค์การและการจัดการ

Organization and Management

1.1เพื่อศึกษาลักษณะโครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป การวางแผน 1.2เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์และแนวความคิดในการจัดตั้งองค์การธุรกิจ ประเภทของการประกอบธุรกิจ 1.3เพื่อศึกษาหลักการบริหารและหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหาร การวางแผนการจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจคนทำงาน การควบคุมปฏิบัติงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ รวมทั้งสามารถดำเนินการจัดการในองค์การหรือที่ทำงานได้
ศึกษาลักษณะโครงสร้างขององค์การธุรกิจทั่วไป การวางแผน หลักเกณฑ์และแนวความคิดในการจัดตั้งองค์การธุรกิจ ประเภทของการประกอบธุรกิจ หลักการบริหารและหน้าที่สำคัญของฝ่ายบริหาร การวางแผนการจัดคนเข้าทำงาน การสั่งการ การจูงใจคนทำงาน การควบคุมปฏิบัติงาน
อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1) มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถทำงานเป็นทีม
3) มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
(1) ให้ทำโครงงาน หรือวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องประยุกต์ความรู้ในวิชากับปัญหาจริง โดยให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม (2) กำหนดประเด็นที่เป็นเรื่องน่าสนใจในขณะนั้น ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้า และอภิปรายกลุ่มฝึกสังเกตพฤติกรรมของสมาชิกอื่น ๆ ทั้งในด้าน ภาษา ท่าทาง บุคลิกภาพ ฯลฯ (3) สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม ความสามารถในระหว่างที่ทำให้โครงงานกลุ่ม หรือใบงานกลุ่มโดยการพูดคุยกับนักศึกษาเน้นความรับผิดชอบต่องาน วินัย จรรยาบรรณ ความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ในกลุ่ม ความถ่อมตนและความมีน้ำใจต่อเพื่อนร่วมงาน และความซื่อสัตย์
 
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
ประเมินจากการมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
ประเมินจากการกระทำทุจริตในการสอบความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายในการเข้าร่วมกิจกรรม
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ
3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจอาหารและโภชนาการ
 
บรรยายหัวข้อรายละเอียดต่าง ๆ โดยใช้สื่อ Power Point ประกอบการบรรยายโดยให้นักศึกษาร่วมอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้และตามด้วยตัวอย่างในการศึกษา อภิปรายโต้ตอบระหว่างอาจารย์และนักศึกษา การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน และการวิเคราะห์กรณีศึกษา
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ นำเสนอสรุปการอ่านจากการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การนำเสนอการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1) มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3) สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหา จุดอ่อน จุดแข็ง ของสถานการณ์ต่างๆ และประยุกต์ความรู้บูรณาการองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องได้
มอบหมายงานให้นักศึกษาทำรายงานหรือกรณีศึกษาที่กำหนดโดยใช้ความรู้วิชานี้ไปสังเกต วิเคราะห์ อย่างมีเหตุผล และนำเสนอผลงานในรูปของการอภิปรายกลุ่ม
 
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา และสภาพเนื้อหาในบทเรียนที่ได้ศึกษา
1) มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ให้ทำโครงการหรือวิเคราะห์กรณีศึกษาร่วมกันเป็นกลุ่มโดยเน้นความรู้ที่เรียนในวิชากับปัญหาที่กำหนด ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี แสดงความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมาย แทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างการสอนโดยผ่านการเล่าเรื่องต่าง ๆพูดคุยกับนักศึกษาถึงความจำเป็นในวิชาที่เรียน ในระหว่างทำการสอน
 
ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด ประเมินรายงานที่นำเสนอและพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม ประเมินพฤติกรรม
1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับธุรกิจอาหารและโภชนาการ
2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาและโภชนาการได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม  เปิดให้มีการอภิปราย
 
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1) มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถทำงานเป็นทีม 3) มีวินัย ตรงต่อเวลา ขยัน และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาธุรกิจอาหารและโภชนาการ 3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในงานด้านธุรกิจอาหารและโภชนาการ 1) มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับธุรกิจอาหารและโภชนาการ 3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอาหาและโภชนาการได้อย่างเหมาะสม
1 BSCFN144 องค์การและการจัดการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 ด้านความรู้ สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 , 12 และ 17 10 % 25 % 35 %
3 ด้านทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค ภาคปฏิบัติ (รายงาน) 15 16 ตลอดภาคเรียน 15%
4 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน ตลอดภาคเรียน 5%
5 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร แบบฝึกหัดหลังบทเรียน ตลอดภาคเรียน -
สมคิด บางโม. องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ . กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2562 
 
ตุลา มหาพสุธานนท์. หลักการจัดการ หลักการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา จำกัด, 2547.

ยาวิราช. การจัดการสมัยใหม่ Modern Management. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ บริษัทเซ็นทรัล เอ็กเพรส จำกัด, 2546.

ผุสดี รุมาคม. การบริหารธุรกิจขนาดย่อม. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์, 2540.
วิญญู พิชญกานต์. หลักการจัดการ. เชียงใหม่ : ม.ป.ท., 2545.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. องค์การและการจัดการฉบับสมบูรณ์ (ปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : ม.ป.ท., 2542.12.
website ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ
1.2 การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ
1.3 การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
** 2.3 การสังเกตการณ์สอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กำหนดโดยผู้ร่วมสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
** 3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร