โภชนาการ

Nutrition

      เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้วนักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านหลักการโภชนาการที่สัมพันธ์กับงาน          ด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร ที่ศึกษาในด้านความหมาย ความสำคัญของโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ      ของอาหาร ระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา ระบบการย่อยและการดูดซึม ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค โภชนาการของบุคคลในช่วงวัยต่าง ๆ วิธีประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด ปัญหาโภชนาการในประเทศ ฉลากโภชนาการและการกล่าวอ้างทางโภชนาการ
       เพื่อเพิ่มเติมรายละเอียดของวิชา ด้านความรู้ ความเข้าใจ ให้ได้ตามเกณฑ์ของหลักสูตร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับงานที่เกี่ยวข้อง ชีวิตประจำวัน โดยให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
 
          หลักการโภชนาการที่สัมพันธ์กับงานด้านวิทยาศาสตร์การอาหาร ที่ศึกษาในด้านความหมาย ความสำคัญของโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของอาหารระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา ระบบการย่อยและการดูดซึม ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค โภชนาการของบุคคลในช่วงวัยต่างๆ วิธีประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด ปัญหาโภชนาการในประเทศ ฉลากโภชนาการและการกล่าว
อ้างทางโภชนาการ
        Introduction to nutrition and food science career opportunities; a study of the meaning (definition)
and importance of nutrition including nutrients; effect of processing on the nutrients; digestion and absorption of nutrients; nutritional demands and energy balance; symptoms and diseases caused by disorders of consumption; nutritional status of human among different age groups; nutritional assessment; nutritional therapy; nutritional problems in the country; nutrition labeling and nutrition claims
    จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ(เฉพาะรายที่ต้องการ) สัปดาห์ละ1 ชั่วโมง(วันพุธ เวลา 16.00-17.00 น.) ห้องพักอาจารย์ 3 หรือติดต่อกับอาจารย์ทางโทรศัพท์หรือ E-mailหรือโดยอาจารย์แจ้งให้นักศึกษาทราบในใกำหนด
การสอนที่แจกให้กับนักศึกษา  
  1.1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
  1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  
  1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
  1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.2.1  ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถามเพื่อแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ยกตัวอย่างกรณีศึกษาตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่และพฤติกรรม\ที่ขาดจรรยาบรรณในวิชาชีพ อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างด้านการมีวินัยเรื่องเวลาการเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
  1. การสอนแบบบรรยาย
  2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
  1.3.1 ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในสถานการณ์ที่คณะจัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม ตรวจสอบการ มีวินัยต่อการเรียนการตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และประเมินการรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น โดยประเมินเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
  1.3.2 การทดสอบก่อนเข้าบทเรียน ทดสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค ควบคุมไม่ให้มีการทุจริตในการทดสอบ ตรวจสอบการเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ จากการแต่งกาย และพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก

การเขียนบันทึก การสังเกต ข้อสอบ
  2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาเรื่องความหมายและความสำคัญของโภชนาการ สารอาหารต่างๆ สารอาหารกับกระบวนการ แปรรูป ระบบการย่อยและการดูดซึมสารอาหาร ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค โภชนาการของบุคคลในภาวะต่างๆ
  2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยี วิธีการประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัดและปัญหาโภชนาการในประเทศไทย อาหารเชิงหน้าที่ทางโภชนาการ ผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ ฉลากโภชนาการและการกล่าวอ้างทางโภชนาการ
 2.2.1 บรรยาย อภิปรายหลักการทฤษฎี เนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องตามวัตถุประสงค์ทั่วไปของรายวิชาที่ได้กำหนดไว้ และยกตัวอย่างให้เห็นถึงความเชื่อมโยงหรือความเกี่ยวข้องกัน
 2.2.2 นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมเพื่อนำเสนอและรายงานจัดทำรายงาน นักศึกษา โดยใช้วิธีการสอนดังนี้
     1. การสอนแบบบรรยาย
     2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
     3. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning
  2.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
  2.3.2 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอข้อมูลของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก
      1. โครงการกลุ่ม 
      2. การสังเกต
      3. การนำเสนองาน
      4. ข้อสอบอัตนัย
      5  ข้อสอบปรนัย
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านโภชนาการที่มีความสามารถในการค้นหาข้อมูลสารสนเทศ เรียนรู้และทำความเข้าใจในสิ่งที่สงสัยอันจะนำไปสู่ความสามารถในการแก้ปัญหาโภชนาการในตนเองและครอบครัวได้
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบในการค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการด้านโภชนาการ และนำข้อมูลมา ประมวลและทบทวนเอกสารทางวิชาการด้านโภชนาการและอาหารเสริมสุขภาพ มานำเสนอได้อย่างเป็นขั้นตอนและถูกต้อง
3.2.1 การสอนแบบบรรยายในเนื้อหาวิชาทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง
3.2.2กระบวนการสืบค้น(Inquiry Process) เนื้อหาวิชาที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจุบัน ที่ทางวิชาการที่แสดงผลของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารที่มี ต่อโภชนาการ
 3.2.3 สอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) และสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 3.2.4 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
      โดยจัดให้มีการอภิปรายในรูป ของกิจกรรมกลุ่มในหัวข้อ ที่มอบหมายแก่นักศึกษา ที่เกี่ยวข้อง มีการตั้งโจทย์/คำถาม หรือยกตัวอย่างสถานการณ์ในระหว่างการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกคิด วิเคราะห์ และมีความกล้าแสดงออกทางความคิด
 3.3.1 ประเมินจากการสังเกตกระบวน ตอบปัญหาการจัดการระบบการแสดงความคิดความคิดเห็นเป็นในชั้นเรียนทั้งรายบุคคล และกลุ่ม ของนักศึกษา เหตุผลสนับสนุนทางด้านวิชาการ ที่เหมาะสม
 3.3.2 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
 3.3.3 การทดสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก

โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย
  4.1.1  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดีและความรับผิดชอบต่อการกระทำของตนเองและของกลุ่ม
  4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
  4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 4.2.1 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning โดย 1.1 จัดกลุ่มและมอบหมายงานกลุ่ม และมีการเปลี่ยน กลุ่มทางานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทางานได้กับผู้อื่น
 4.2.2 จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับนักศึกษาคนอื่นและบุคคลภายนอก
 4.2.3 กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนในการทำงานกลุ่มแต่ให้นักศึกษาวางแผนและแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่มรับผิดชอบด้วยตนเอง
ใช้วิธีการวัดและประเมินผลจาก

โครงการกลุ่ม การสังเกต การนำเสนองาน ข้อสอบอัตนัย ข้อสอบปรนัย

- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ประเมินความรับผิดชอบจากงานที่มอบหมายจากความตรงต่อเวลาและคุณภาพงานที่ได้
- ประเมินการวางแผนการทางานและการแบ่งงานให้สมาชิกในกลุ่ม จากคุณภาพงานและการส่งงานตามกำหนดเวลา
- ให้นักศึกษาประเมินตนเองและสมาชิกคนอื่นๆ ในกลุ่มด้านความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การปรับตัวในการทางานร่วมกันในกลุ่ม ทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 5.1.1  สามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการหรือปัญหาภาวะโภชนาการจากเหตุการณ์ปัจจุบันได้อย่างรวดเร็ว
 5.1.2  สามารถสืบค้น/ระบุเข้าถึง คัดเลือกแหล่งข้อมูล สามารถศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม และสามารถสรุปประเด็น การสื่อสารทั้งการพูดและเขียน รวมทั้งการเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอ
 5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.4  สามารถใช้ภาษาไทย อย่างถูกต้องและภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม
 5.2.1 มีการสอนและอธิบายเชิงทฤษฎีและนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตโดยใช้ Power point แล้วจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ตเพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอและสืบค้นข้อมูลกรณีศึกษาเกี่ยวกับความสำคัญทางด้านโภชนาการ
 5.2.2 แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศ
 5.2.3 มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
 5.2.4 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และนำเสนองานด้วยวิธีใช้ Power point โปสเตอร์ และวาจา
  5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ตลอดจนความเข้าในและความถูกต้อง ในเนื้อหาที่นำเสนอต่อชั้นเรียน
 ไม่มี
   - 
   -  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCFT301 โภชนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4, 2.1, 2.2,2.3, 2.4,3.3,4.1,4.3,4.4, 5.2, 5.4, 5.6 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.3, 3.2 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 3,5,7 10%
3 2.3, 3.2 การสอบกลางภาค 9 30%
4 2.3, 3.2 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
5 2.3, 3.2 การสอบปลายภาค 18 35 %
วิบูลย์ รัตนาปนนท์ และ นิธิยา รัตนาปนนท์. 2529. โภชนศาสตร์เบื้องต้น. ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
         คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่.
สิริพันธุ์ จุลกรังคะ. 2550. โภชนศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 5. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
กองโภชนาการ กรมอนามัย. 2543. ธงโภชนาการ. คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของ 
          คนไทย. กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการจัดทำข้อกำหนดสารอาหารที่ควรได้รับประจำวันสำหรับคนไทย. 2546. ปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควร 
         ได้รับประจำวันสำหรับคนไทย พ.ศ.2546. กองโภชนาการ กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ.
คณะกรรมการสวัสดิการกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. 2545 . ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. 
          สำนักพิมพ์สามเจริญพาณิชย์ จำกัด. กรุงเทพฯ.
นัยนา บุญทวียุวัฒน์. 2546. ชีวเคมีทางโภชนาการ. บริษัทบริษัท ซิกม่า ดีไซน์กราฟฟิก จำกัด. กรุงเทพฯ.
ปราณีต ผ่องแผ้ว. 2539. โภชนศาสตร์ชุมชน ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงภาวะเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว. สำนักพิมพ์
          บริษัท ลิฟวิ่ง ทรานส์ มีเดีย จำกัด. กรุงเทพฯ.
วิชัย ตันไพจิตร. 2530. โภชนาการเพื่อสุขภาพ. สำนักพิมพ์อักษรสมัย. กรุงเทพฯ.
เสาวนีย์ จักรพิทักษ์. 2537. หลักโภชนาการปัจจุบัน. สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ.
อบเชย วงศ์ทอง. 2542. โภชนศาสาตร์ครอบครัว. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสาตร์. กรุงเทพฯ
C.D. 1995. Advance Nutrition: Macronutrients. CRC Press, Inc. USA
Grosvenor, M. B. and L. A. Smolin. 2002. Nutrition: from Science to life. Fort Worth: Harcourt Brace
           College Publisher.
Henry, C.J. and Chapman, C. (2002). The Nutrition Handbook for Food Processors. Woodhead 
           Publishing. USA.
Mahan, L.K., Escott - Stump, S.V: Krause's. 2000 Food Nutrition & Diet Therapy. 9thed. Phiadelphia, 
           W.B. Saunders Company.
Smolin, L.A. and Grosvenor, M.B. (1994). Nutrition: Science and Applications. Saunders College 
           Publishing. USA.
Whitney, E. and Rolfes, S.R. (2005). Understanding Nutrition. 10th ed. Thomson Learning, Inc. USA.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะของนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
   2.1 การสังเกตพฤติกรรมจากการทำกิจกรรมของนักศึกษา
   2.2 ผลการทดสอบย่อย
   2.3 ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน ดังนี้
   3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับระดับของนักศึกษาโดยดูจากแบบทดสอบก่อนการเรียนเพื่อปูพื้นฐานและทบทวนในบางหัวข้อ
      3.2  การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
      ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการประเมินผลคะแนนการนำเสนอรายงานกลุ่มหน้าชั้นเรียน และเปิดการอภิปรายในชั้นเรียน โดยยกตัวที่และที่ต้องปรับปรุงแก้ไข อธิบายทำความเข้าใจเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม และพิจารณาคะแนนสอบย่อย สอบกลางภาคและสอบ   ปลายภาค
 
   จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
     5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
     5.2 ปรับปรุงรูปแบบของกิจกรรมให้มีความหลากหลาย