เคมีวิเคราะห์

Analytical Chemistry

เข้าใจหลักการทางเคมีวิเคราะห์ หน่วยทางเคมี  เข้าใจสมดุลอิออนิกในสารละลายน้ำ ผลคูณการละลายผลของอิออนร่วม เข้าใจทฤษฎีออกซิเดชัน-รีดักชัน เคมีไฟฟ้า เข้าใจหลักการวิธีการไทเทรตและการวิเคราะห์ไอออน นำความรู้ทางเคมีวิเคราะห์ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีวิเคราะห์เพิ่มขึ้น 2.2 นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.3 เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับหลักทั่วไปของเคมีวิเคราะห์ หน่วยทางเคมี สมดุลไอออนิกในสารละลายน้ำ เคมีไฟฟ้า การไทรเทรตกรดเบส การไทเทรตแบบตกตะกอน การไทเทรตแบบการเกิดสารประกอบเชิงซ้อน การไทเทรตแบปฏิกิริยารีดอกซ์และการวิเคราะห์ไอออน
3.1 วันพุธ เวลา 15.30 - 16.30 น. ห้องแผนกวิชาเคมี     3.2  e-mail; kodcharat@rmutl.ac.th  
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ ˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน - กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฏระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การแต่งกายและตรงต่อเวลา - ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้อ่านและสรุปบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง - ให้ทำแบบฝึกหัด - นิสิตไปค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน - การฝึกทักษะทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ  
-สอบรายหน่วยด้วยข้อสอบและสอบปากเปล่า - ประเมินจากประสิทธิผลของการค้นคว้าและรายงาน - การนำเสนอสรุปการอ่านบทความวิจัยที่เกี่ยวข้อง - การนำเสนอการวิเคราะห์กรณีศึกษา - ประเมินจากาการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน  
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน - การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษ และนำเสนอผลการศึกษา - การฝึกทักษะทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ภายในเนื้อหาวิชาบูรณาการเข้ากับงานวิจัย งานบริหารวิชาการ หรือศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น - จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาความคิดรวบยอด หลักการทางทฤษฎี และ/หรือการฝึกปฏิบัติ เพื่อทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจมากขึ้น
- สอบกลางภาคและปลายภาค โดยข้อสอบเน้นการใช้สถานการณ์ - สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมกิจกรรมที่มอบหมาย โดยการประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา - สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแทนการถามตอบปัญหาในชั้นเรียน
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี ˜4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- มอบหมายงานกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา - มอบหมายงานให้ค้นคว้าและศึกษาด้วยตนเอง เช่น ให้เลือกและอ่านบทความวิจัยที่     เกี่ยวข้องกับวิชา
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานที่ทำเป็นกลุ่มหรือโครงงาน - รายงานการศึกษาด้วยตนเอง (รายงานสรุปรวบยอดความรู้) - พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม ˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ใช้สื่อและวิธีการสอนที่น่าสนใจ ชัดเจนง่ายต่อการติดตามทำความเข้าใจ - แนะนำเทคนิคและแหล่งข้อมูลการสืบค้น - มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ - นำเสนอผลงานโดยใช้ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
- การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี - การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย -ทักษะภาษาอังกฤษ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(CognitiveSkills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษ 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 FUNSC207 เคมีวิเคราะห์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.4, 2.1, 2.3, 3.2, 4.1-4.4, 5.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.1-1.4, 2.1, 3.2, 5.3 การทดสอบรายหน่วย 2,4,6,9,11, 13,15 70%
3 1.1-1.4, 2.1, 2.2, 3.1, 5.1-5.3 เอกสารค้นคว้า ,งานมอบหมาย ทุกสัปดาห์ 20%
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมีวิเคราะห์
Gary D. Christian. Analytical Chemistry, 3rd. John Wiley & Sons; New York Chichester Brisbane Toronton,1980.
 
ชูติมา ศรีวิบูลย์ และธวัชชัย ศรีวิบูลย์. ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์, พิมพ์ครั้งที่ 7 สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2554 ชูติมา  ศรีวิบูลย์. เคมีวิเคราะห์พื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 5 สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2557 พัชรี  ธีรจินดาขจร. พิมพ์ครั้งที่ 2 โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  2552 พรพรรณ  อุดมกาญจนนันท์ และสุชาดา จูอนุวัฒนกุล.  เคมีปริมาณวิเคราะห์,  สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2551 วรรณา  กาญจนมยูร. หลักทางเคมีวิเคราะห์,  พิมพ์ครั้งที่ 1  โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น,  2551
- แบบประเมินผู้สอน 
- การสังเกตการณ์ในการสอน - ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ - การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบข้อสอบ
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา