การแปลเบื้องต้น

Introduction to Translation

1. รู้เกี่ยวกับทฤษฎีและหลักการแปล
2 เข้าใจกระบวนการและกลวิธีการแปลขั้นพื้นฐาน
3 สามารถแปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษในระดับเบื้องต้น
4. ตระหนักถึงความสำคัญของการแปลในการสื่อสาร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติหลักและวิธีการแปลพื้นฐานภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ในระดับคำ วลี ประโยค และย่อหน้า จากงานเขียนและสื่อประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการใช้สื่อสารสนเทศช่วยในการแปล
- นักศึกษาสามารถส่งอีเมลเพื่อขอคำปรึกษาได้ที่ unaree@rmutl.ac.th
- นักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ผู้สอนได้ทุกวันพุธ เวลา 13.00-15.00 น. 
1. ความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีจิตสำนึกสาธารณะ เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่สัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
2. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
3. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่จะเกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และสังคมจากการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
 
1. บรรยายพร้อมสอดแทรกความรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรมนักแปลที่ดี
2. สังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน 
3. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 
4. ตรวจสอบปริมาณความถี่ของการคัดลอกผลงานผู้อื่น 
1. ประเมินการเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน 
2. ประเมินผลงานที่ส่งตรงตามกำหนด ไม่มีการคัดลอกผลงานผู้อื่น 
1. มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องหลักการแปล ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแปล กระบวนการและกลวิธีการแปล รวมถึงการฝึกทักษะการแปลงานเขียนประเภทต่าง ๆ จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ในระดับคำ วลี ประโยค ย่อหน้า และข้อความ
2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านการแปล สามารถบูรณาการความรู้ในการแปลกับศาสตร์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม โดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการแปล ในการวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 
2. มอบหมายงานและแบบฝึกหัด 
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา 
1. การสอบกลางภาค 
2. การสอบปลายภาค
3. การทดสอบย่อย 
4. การมอบหมายงานเดี่ยว และ/หรือ งานกลุ่ม
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อม และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 
2. มอบหมายงานและแบบฝึกหัด 
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา 
1. การทดสอบย่อย 
2. การมอบหมายงานเดี่ยว และ/หรือ งานกลุ่ม
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และสามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ กับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 
2. มอบหมายงานและแบบฝึกหัด 
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา 
1. การทดสอบย่อย 
2. การมอบหมายงานเดี่ยว และ/หรือ งานกลุ่ม
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีทักษะการใช้เครื่องมือที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 
2. มอบหมายงานและแบบฝึกหัด 
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา 
1. การทดสอบย่อย 
2. การมอบหมายงานเดี่ยว และ/หรือ งานกลุ่ม
6.1 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์การแปลมาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างเหมาะสม
6.2 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 
2. มอบหมายงานและแบบฝึกหัด 
3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา 
1. การทดสอบย่อย 
2. การมอบหมายงานเดี่ยว และ/หรือ งานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1.1 ความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีจิตสำนึกสาธารณะ เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่สัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 1.1.4 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่จะเกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และสังคมจากการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในเรื่องหลักการแปล ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแปล กระบวนการและกลวิธีการแปล รวมถึงการฝึกทักษะการแปลงานเขียนประเภทต่าง ๆ จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ ในระดับคำ วลี ประโยค ย่อหน้า และข้อความ 2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านการแปล สามารถบูรณาการความรู้ในการแปลกับศาสตร์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม โดยประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านการแปล ในการวิเคราะห์ปัญหา และการแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน 3.1.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ และประเมินสารสนเทศจากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อม และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 4.1.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.1.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ กับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์การแปลมาเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างเหมาะสม 6.1.5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1 BOAEC113 การแปลเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1 1.1.4 1.1.6 การเข้าชั้นเรียน, การส่งงานสม่ำเสมอตรงตามเวลาที่กำหนด, การไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1.1 2.1.2 การสอบกลางภาค, การสอบปลายภาค 9, 17 15%, 15%
3 3.1.1 แบบฝึกหัด, แบบทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 4.1.4, 4.1.5 5.1.3, 5.1.4 6.1.2, 6.1.5 งานมอบหมาย 7, 12, 13, 15 30%
เอกสารประกอบการสอน รายวิชา BOAEC 113 การแปลเบื้องต้น (อาจารย์ผู้สอนเป็นผู้จัดเตรียมเอกสารประกอบการสอนให้กับนักศึกษา)
ศิรินทรา เอื้อรัตนาภรณ์. (2555). มือใหม่หัดแปล ภาษาอังกฤษเป็นภษาไทย Jessica Wright (เขียน). กรุงเทพมหานคร: Minibear Publishing.
ผ่องศรี ลือพร้อมชัย. (2560). การแปลให้เก่ง: คู่มือนักแปลมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: สมาคมนักแปลและล่ามแห่งประเทศไทย.  
- นักศึกษาทำแบบประเมินอาจารย์ผู้สอนโดยใช้แบบฟอร์มออนไลน์ที่ สวท จัดทำขึ้น
- การเขียนสะท้อนความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการเรียนการสอนของรายวิชา 
เก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา
- นำผลการประเมินจากภาคเรียนที่ผ่านมา และข้อเสนอแนะจากการทวนสอบรายวิชา มาดำเนินการปรับปรุงเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ลักษณะของงานมอบหมาย สื่อประกอบการเรียนการสอน แบบฝึกปฏิบัติ และข้อสอบกลางภาค-ปลายภาค
- นำแนวปฏิบัติในการออกแบบกิจกรรมตามหลักการ 21st Century Learning Design ของ Microsoft มาปรับใช้กับกิจกรรมที่กำหนดให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ
- ก่อนเริ่มการสอน มีการตรวจสอบมคอ.3 โดยหัวหน้าหลักสูตรและหัวหน้าสาขา ว่ามีมาตรฐานผลสัมฤทธิ์เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในมคอ. 2 ของหลักสูตร
- ในระหว่างการสอน มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ในรายวิชา และข้อสอบที่จะใช้สอบวัดผลสัมฤทธิ์ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
- หลังการสอน มีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบมคอ. 3 มคอ. 5 ข้อสอบ เกณฑ์การให้คะแนน ผลการเรียน และผลจากงานมอบหมาย
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น โดยมีการปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 1-4