ปฏิบัติการงานไม้และโลหะ

Wood and Metal Workshop

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับลักษณะวิชาชีพงานไม้และโลหะประเภทต่างๆ คุณสมบัติของไม้และโลหะ การใช้และการเก็บรักษา เครื่องมือทั้งงานไม้และโลหะประเภทต่างๆ วิธีการตัด ดัด ต่อไม้และโลหะด้วยวิธีการเข้าเดือยและวิธีการเชื่อมอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ประกอบผลิตภัณฑ์ เช่น หมุดย้ำ น๊อตสกรู กาว รวมทั้งสีตกแต่งผลิตภัณฑ์ หลักการออกแบบโครงสร้างและวิธีการประกอบเป็นผลิตภัณฑ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างผลิตภัณฑ์ ทั้งงานไม้และโลหะ ฝึกปฏิบัติการประกอบชิ้นส่วนงานไม้และวิธีการตัด เชื่อมผลิตภัณฑ์งานโลหะประเภทต่างๆ สามารถนำรู้ ความเข้าใจในฝึกปฏิบัติงานไม้และโลหะ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง  ทั้งนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์สมัยใหม่ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ฝึกปฏิบัติ ใช้เครื่องมือ เครื่องจักร การบ ารุงรักษา กฎระเบียบการปฏิบัติงานใน โรงงาน การท าต้นแบบ โดยค านึงถึงประโยชน์ใช้สอยและกรรมวิธีการผลิต จากวัสดุประเภทไม้และโลหะ 
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งให้คำปรึกษาทางโทรศัพท์ ทาง ไลน์ ทาง email address ของอาจารย์ผู้สอน   -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการของผู้เรียน
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง และลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ์ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถฝึกปฏิบัติการเชื่อมต่อชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ทั้งประเภทงานไม้และโลหะได้ โดยคำนึงถึงผลกระทบจากการปฏิบัติงานไม้และโลหะต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมของผู้ควบคุมงานในโรงงงานอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์ไม่ทุจริตหรือปกป้องตัวเอง ฝึกปฏิบัติรายบุคคล กำหนดให้นักศึกษาออกแบบและเขียนแบบผลิตภัณฑ์งานไม้และโลหะ ให้ทำโครงการฝึกปฏิบัติงานกลุ่ม ทำผลิตภัณฑ์ต้นแบบ จัดโครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่
พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย ประเมินผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย การศึกษาดูงานนอกสถานที่ประเมินผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ และการจัดทำรายงานสรุป
มีความรู้ในการฝึกปฏิบัติงานเกี่ยวกับวิชาชีพงานไม้และโลหะประเภทต่างๆ ขั้นตอนการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร การเก็บรักษาเครื่องมืองานไม้และโลหะสามารถปฏิบัติการประกอบชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์ เช่น หมุดย้ำ น๊อตสกรู กาว รวมทั้งสีตกแต่งผลิตภัณฑ์ตามหลักการออกแบบโครงสร้างและวิธีการประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบได้
บรรยาย อภิปราย ฝึกปฏิบัติการทำงานรายบุคคล และงานกลุ่ม มอบหมายงานให้ค้นหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวกับ วัสดุงานไม้และโลหะ โดยนำมาสรุปและนำเสนอ พร้อมทั้งจัดให้มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่ในช่วงปิดภาคเรียน ประเมินผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ และการจัดทำรายงานสรุป
2.3.1   ประเมินผลจากงานปฏิบัติของนักศึกษาโดย ผู้สอนตั้งเกณฑ์การประเมินผล ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.3.2  ผู้เรียนประเมินตนเองและประเมินผลงานการสอนของอาจารย์
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
พัฒนาความสามารถในการสร้างกรอบคิดในการนำเสนอ Project   ความสามารถในการสืบค้นเอกสาร การวางแผนงาน การปฏิบัติตัวมารยาททางสังคม การปฏิบัติตามกฎระเบียบในขณะเข้าศึกษาดูงาน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับผู้ประกอบการ การสร้างเครือข่าย ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ในการเรียน
3.2.1   บรรยาย และให้โอกาสผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีเรียนรู้ด้วยตนเอง วางแผนการเรียนและการประเมินผลการเรียน การตรวจสอบผลการเรียนด้วยตนเอง 
3.3.1   วัดผลจากการคะแนนงานปฏิบัติและ การนำเสนอผลงาน 
 
 4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน 4.1.2   พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีในการเรียน  การส่งงาน มีความซื่อสัตย์ในการปฏิบัติงาน 
 4.2.1   ให้ผู้เรียนปฏิบัติการ ตามหัวข้อที่กำหนดในใบงาน
4.3.1  ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1   พัฒนาทักษะในการเรียนผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย      5.1.2   ทักษะในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.1   มอบหมายให้ส่งผลงานเป็นอิเล็กทรอนิกส์ไฟล์ทาง Google Classroom
5.3.1   ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย  5.3.2  ประเมินจากการนำเสนอ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2.มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.3.มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบ วิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่ หลากหลายอย่างมีวิจารณญา 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3.สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่่ดี 4.2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3.สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่่ เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1.มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAAID106 ปฏิบัติการงานไม้และโลหะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.3.1 2.3.1 3.3.1 2.3.1 - Project งานโลหะ - สอบกลางภาคเรียน - Project งาไม้ - สอบปลายภาคเรียน 8 9 16 17 3% 7% 5% 20% ตามลำดับ
2 2.3.2 1.1.2 - ปฎิบัติงานรายสัปดาห์ - การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 50ู%
3 1.1.2 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.3.5 -ประเมินผลจากแบบสอบถามความพึงพอใจ และการจัดทำรายงานสรุป หลังปิดภาคเรียน 5%
เฉลิม มหิทธิกุล . 2512 สมบัติของไม้ ภาควิชา. วนผลิตภัณฑ์.คณะวรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
ปฤญจ์ ศรีอรัญ. 2519 การผึ่งและอบไม้ ภาควิชาวรผลิตภัณฑ์. คณะวรศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. (โรเนียว)
มนัส สถิรจินดา. 2520 วัสดุในงานวิศวกรรม. เอกสารประกอบการบรรยาย คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย    
อำนวย คอวนิช. 2523 อุตสาหกรรมไม้ขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สาคร คันธโชติ. 2523. วัสดุผลิตภัณฑ์. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการ. ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.(โรเนียว)
ประณต กุลประสูตร. 2533 เทคนิคงานไม้.กรุงเทพมหานคร:
-
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา แบบประเมินความพึงพอใจหลังจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   แตงตั้งกรรมการหรือผู้สังเกตการสอนโดยสาขาวิชา
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.4  จัดทำรายงานสรุปผลรายบุคคลหลังจากการศึกษาดูงานนอกสถานที่
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.3   ศึกษาดูงานนอกสถานที่
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.3   เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอกมาสาธิตและร่วมบรรยาย
5.4   จัดกิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่