องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น

Introduction to Composition

1.1 เข้าใจการศึกษาค้นคว้ากระบวนการสร้างสรรค์งานองค์ประกอบศิลป์ 1.2 เข้าใจการนำเสนอแนวคิดจิตนาการสู่กระบวนการสร้างสรรค์ 1.3 มีการสร้างสรรค์ตามแนวคิดและจินตนาการ 1.4 สามารถวิเคราะห์แก้ปัญหาแนวคิดและจินตนาการในการสร้างสรรค์ 1.5 ตระหนักในคุณค่าด้านสุนทรีนศาสตร์ของการสร้างสรรค์องค์ประกอบศิลป์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ     ในการจัดองค์ประกอบเพื่อการออกแบบ และเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบและในทางศิลปะที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย  
ศึกษาเกี่ยวกับการใช้ทัศนธาตุทางศิลปะและนำมาปฎิบัติในการจัดองค์ประกอบศิลปะตามหัวข้อที่กำหนดด้วยวัสดุและวิธีการที่หลากหลาย โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการและการแสดงอย่างเหมาะสม
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  แจ้งเกี่ยวกับเกณฑ์ในการศึกษาและการประเมินผลรายวิชา ในชั่วโมงแรกของการสอนภายในชั้นเรียน  -    อาจารย์แจ้งและกำหนดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)  
1.1.1    มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏฺบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.1.2     มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3     มีวินัย ตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฏระเบียบข้อบังคับของ   องค์กรและสังคมเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  บรรยายเนื้อหาพร้อมยกตัวอย่างเทคนิคการสร้างงานรูปแบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน  1.2.2  สอดแทรกเรื่องซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย   ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม  สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา
 1.3.2   ผลงานการใช้องค์ประกอบศิลป์ รายสัปดาห์ 1.3.3   การสอบวัดความรู้รวบยอดทั้งภาคทฤษฏี และปฏิบัติ ภาคเรียนละ 2 ครั้ง
2.1.1  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็น ระบบ 2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์     ในสาขาวิชาที่ศึกษา  
2.2.1 บรรยายและการค้นคว้าแก้ปัญหา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา เกี่ยวกับหลักการองค์ประกอบศิลป์ และเทคนิควิธีการ รวมถึงการฝึกปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงาน  สำหรับงาน  ทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็น ระบบ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้  2.3.2 ประเมินจากงานปฏิบัติของผู้เรียนในการสร้างผลงาน  
3.1.1  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.2  สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้  3.1.3 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1   สอนแบบบรรยาย วิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ โดยใช้รูปภาพประกอบ และ ตัวอย่างงานจัดวางองค์ประกอบศิลป์ ความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน ผ่านการเรียนออนไลน์ ด้วยโปรแกรม MS TEAMS  และแนบเอกสารการสอน ใน MS TEAMS , Application Line และ Facebook กลุ่ม 3.2.2   สอนแบบสถานการณ์จริงโดยนำผลงานศิลปะในปัจจุบันมานำเสนอให้นักศึกษาศึกษาดูผลงาน พร้อมนำมาเป็นแนวคิดในการทำงาน  ผ่านการเรียนออนไลน์ ด้วยโปรแกรม MS TEAMS
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  ผ่านโปรแกรม MS TEAMS โดยเน้นข้อสอบที่แสดงความเข้าใจ 3.3.2   วัดผลจากงานปฏิบัติตลอดภาคเรียน ส่งงาน ในอัลบั้ม Application Line
3.2.3  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน  การปฏิบัติงานของนักศึกษา  และการนำเสนองาน อาจารย์ตรวจงานผ่าน Application Line
4.1.1   มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง   
4.2.1   มอบหมายงานโดยยกตัวอย่างงาน ผ่าน Application Line โดยการสร้างอัลบั้มส่วนตัว 4.2.2   การนำเสนองานโครงงาน ปลายภาค
 4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน อาจารย์ผู้สอน 4.3.2   ประเมินการเข้าชั้นเรียนจากการเข้าชั้นเรียนผ่าน MS TEAMS และประเมินผลงานที่นำเสนอและพฤติกรรมการทำงานของนักศึกษาตามหลักการ 4.3.3   ประเมินจากการมอบหมายงานนอกเวลา    
5.1.1   สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสา ทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่าน MS TEAMS 5.1.2   สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  สื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผ่าน MS TEAMS 5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผ่าน MS TEAMS,Application Line และ facebook กลุ่ม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม ผ่าน MS TEAMS,Application Line และ facebook กลุ่ม 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย ผ่าน MS TEAMS,Application Line และ facebook กลุ่ม
6.1.1. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
 
 6.2.1 ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงานและศิลปนิพนธ์   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง ผ่าน MS TEAMS,Application Line และ facebook กลุ่ม
6.3.1   ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน ผ่าน MS TEAMS ส่งคะแนน ผ่าน Application Line และ facebook กลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFACC404 องค์ประกอบศิลป์เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-16 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบ - การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 1-16 คุณภาพผลงานจากการปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 60 %
3 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9 17 15 % 15 %
 ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์, 2536. เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. เอกสารประกอบการสอนองค์ประกอบศิลป์ 1 ชศป. 2004. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2540. ฟาบรี, ราล์ฟ.  ทฤษฏีสี. แปลโดยสมเกียรติ ตั้งนโม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2536. วิรุณ ตั้งเจริญ.  ทฤษฏีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ. หนังสือชุด 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 2534. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2535. สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, 2546. Chijiwa,H. Color harmony. Massachusetts: Rockport Publisher,1987. Faber, B. Creative color. United States of America: Schiffer Publishing, 1987. Gillow, J and Sentence, B. World textile: A visual guide to traditional techniques. . London: Thames & Hudson, 2000. Hardy, A. Art deco textiles: The French designers. London: Thames & Hudson, 2003.  Heathcote, E. Cinema builders. Great Britain: Wiley-Academy, 2001. Henderson, J. Casino design: Resorts, hotels, and themed entertainment spaces. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.) Hill, T, The watercolorist’s complete guide to color. Ohio: North light book Press, 1992. Joyce,C. Textile design. New York: Watson-Guptill Publications, 1993. Levine, M. Colors for living: Living rooms. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.) San Pietro, S. and Brabzaglia, C. Discorddesign in Italy. Milano: Edizioni l’archivolto, 2001. Sawahata, L. Color harmony workbook. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.) Whelan, B, M. Color harmony 2: A guide to creative color combinations. Hong Kong: Rockport Publishers, 1994.
เว็บไซต์ และนิตยสารเกี่ยวกับการจัดองค์ประกอบศิลป์ เครื่องประดับ สิ่งทอ และแฟชั่น การออกแบบโฆษณา การออกแบบกราฟิก การออกแบบภาพประกอบเรื่อง
เว็บไซต์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดองค์ประกอบศิลป์ รวมทั้งหนังสือรูปแบบเกี่ยวกับการจัดองค์ประกอบศิลป์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนผ่าน MS TEAMS 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1  หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  คือการจัดสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์