ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1.เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจริยธรรม รู้จักและเข้าใจตนเอง มีวินัย กล้าแสดงออก มีจิตสาธารณะ และสามารถทํางานเป็นหมู่คณะ เติบโตเป็นคนดี รักความถูกต้องและความเป็นธรรม เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันต่อปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นและรังเกียจพฤติกรรมการทุจริตคอรัปชั่น
2.เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะทางปัญญา มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใฝ่รู้ แสวงหาความรูอย่างต่อเนื่องโดยเป็นไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และมีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สามารถรู้ทันโลกและสามารถนําความรู้ไปใช้ในการดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
4.เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียน มีทักษะการทํางาน (Skill) ความรู้ (Knowledge) ทักษะทางสังคม (Social skill) และ คุณธรรม และจริยธรรม (Ethics) รวมทั้งมารยาทในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2.2 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ศึกษาเกี่ยวกับการบูรณาการศาสตร์เพื่อเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก มีจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม การต่อต้านทุจริตและคอรัปชั่น ทักษะการคิดเชิงระบบ รู้เท่าทันเทคโนโลยี การใช้ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่พึงประสงค์ สามารถเรียนรู้และวางแผนชีวิตที่เหมาะสมในสังคมแห่งการเรียนรู้
วันพุธ เวลา 16.30 - 18.00 น. ห้องพักครูมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  โทร  054 342547-134
1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1 สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน 2 ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา 3 ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 2 การส่งรายงานตรงเวลา 3 ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1 กรณีศึกษา 2 บทบาทสมมติ 3 เพื่อนคู่คิด 4 อภิปราย 5 เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1 การนำเสนอผลงาน 2 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 3 การอภิปราย 4 โครงงาน 5 การสอบ
1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1 กรณีศึกษา 2 บทบาทสมมติ 3 เพื่อนคู่คิด 4 อภิปราย 5 เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1 การนำเสนอผลงาน 2 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 3 การอภิปราย 4 โครงงาน 5 การสอบ
1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
เรียนรู้โดยใช้การทำงานกลุ่มเป็นพื้นฐาน
1 การนำเสนอผลงาน 2 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 3 การอภิปราย 4 โครงงาน  
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม
3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 บทบาทสมมติ 2 เพื่อนคู่คิด 3 เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1 การนำเสนอผลงาน 2 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 3 การอภิปราย 4 โครงงาน 5 การสอบ
1  มีพฤติกรรมและมีทักษะในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้เป็นอย่างดี
2  สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ
จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ฝึกปฎิบัติผ่านการทำงานเป็นกลุ่ม 
1  พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
2  การสะท้อนคิดเกี่ยวกับการเรียนการสอนของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 2 4 2 3 1 2 1 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN703 ศิลปะการใช้ชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การส่งงานตามที่มอบหมาย ทำคลิปวิดีโอ การศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ การเข้าร่วมกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม วิเคราะห์ภาพยนตร์ วิเคราะห์ข่าว ทดสอบย่อย ใบงาน การทำใบงาน คลิปวิดีโอ กิจกรรมกลุ่ม การนำเสนอ 1-17 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 สัดส่วน 25% กิจกรรมตลอดทั้งภาคเรียน สัดส่วน 65% จิตพิสัย สัดส่วน 10%
หนังสือศิลปะการใช้ชีวิต วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต และมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องศิลปะการใช้ชีวิต วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต และมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องศิลปะการใช้ชีวิต วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต และมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 - นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา วิธีการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การใช้สื่อสนับสนุนการเรียนการสอน และการให้ข้อเสนอแนะของนักศึกษา โดยนักศึกษาประเมินผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย - นักศึกษาเสนอแนะกิจกรรมการเรียนการสอนในสัปดาห์แรกของการเรียน - นักศึกษาประเมินการเรียนการสอนของผู้สอนในสัปดาห์สุดท้าย - นักศึกษาประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆ ที่สอดแทรกในบทเรียน - นักศึกษาประเมินการนำเสนอของเพื่อนที่นำเสนอหน้าชั้นเรียน
- สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียน และการอภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน - สังเกตจากการทำกิจกรรมในชั้นเรียน - ประเมินผลจากการนำเสนอและผลงานที่ได้รับมอบหมาย - ผลการสอบปลายภาค 
 - ปรับปรุงเอกสาร เนื้อหา ตำรา สื่อการสอน ให้มีความทันสมัย ทันต่อปัญหาและเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยา - ให้นักศึกษาศึกษาความรู้ทางจิตวิทยาเพิ่มเติมในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้จากกรณีศึกษา ข่าว หรือเหตุการณ์ปัจจุบัน - นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนให้ดีขึ้น - จัดให้มีการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนหรือให้คณาจารย์ได้เข้ารับการอบรมแนวทางการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการพัฒนารายวิชาให้มีความทันสมัยมาก ยิ่งขึ้น  - สนับสนุนการทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภา
- สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านการเรียนและการใช้ชีวิต การมีวินัย ความรับผิดชอบในการเรียนและการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตามเวลาที่กำหนด - ระหว่างมีการเรียนการสอน ผู้สอนตรวจสอบความก้าวหน้าของนักศึกษาแต่ละคนจากแบบฝึกหัดและงานที่มอบหมาย โดยผู้สอนแจ้งผลการวัดและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และหาแนวทางการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ร่วมกัน - มีการจัดตั้งคณะกรรมการในแผนก/สาขา เพื่อตรวจสอบ ประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ผู้สอน และผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบจากวิธีการออกข้อสอบ วิธีการวัดและประเมินผลที่อิงการให้น้ำหนักคะแนนและเกณฑ์ที่ผ่านในรายย่อย
- แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยผู้เรียน และคณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์ในการสอนที่ใช้ และนำเสนอต่อสาขาวิชา และคณะกรรมการบริหารหลักสูตรที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง โดยให้ข้อคิดเห็นและสรุปวางแผน พัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอต่อแผนกวิชา/สาขา/คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป - วิชาจิตวิทยาทั่วไป ต้องปรับปรุง เอกสาร ตำรา เนื้อหา กิจกรรมการสอน และสื่อการสอน ทุก 2 ปี เพราะปัญหาทางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา - เชิญวิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้แก่นักศึกษาเพิ่มเติม เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเนื้อหาอย่างละเอียด ลึกซึ้ง และสามารถนำไปปรับใช้ในชิตประจำวันได้