วิศวกรรมการทดสอบวัสดุ

Engineering Material Testing

ศึกษาและปฏิบัติในเรื่อง
1. การทดสอบความแข็งแรงของวัสดุ
2. เครื่องทดสอบเอนกประสงค์
3. การเฉือน
4. การทดสอบความล้า
5. การทดสอบโดยการกระแทก
และ
6. มีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ
เพื่อให้รายวิชาเป็นมาตรฐาน และไม่ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการทดสอบคุณสมบัติทางกลแบบทำลาย การทดสอบแรงดึง แรงบิด ความแข็ง การล้า การแอ่น แรงกด แรงเฉือน แรงกระแทก แรงดัดของวัสดุปฏิบัติ เกี่ยวกับการทดสอบคุณสมบัติทางกลแบบไม่ทำลาย การทดสอบทางกายภาพด้วยสายตา อัลตราโซนิก การแทรกซึม การเอ็กซเรย์ ผงแม่เหล็ก การทดสอบด้วยกระแสไหลวน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดําเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่าง ราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม อาจารย์ที่สอนในแต่ละวิชา ต้องพยายามสอดแทรก ตามแผนที่แสดงการการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชาการควบคุมคุณภาพ (Curriculum Mapping) กำหนดความรับผิดชอบหลักไว้ ในข้อ 1.1.2 และความรับผิดชอบรองไว้ในข้อ 1.1.3 ดังนี้
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผุ้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- เพื่อปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 
- นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำและสมาชิกกลุ่ม
- นักศึกษาต้องมีความซื่อสัตย์โดยไม่กระทำการทุจริตในการสอบ หรือลอกการบ้าน หรือผลงานของผู้อื่น
- ประเมินจากความตรงเวลาในภาพการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย การร่วมกิจกรรม
- ปริมาณการทุจริต
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ๆ ได้รับมอบหมาย
นักศึกษาต้องมีความรู้ในในวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพ และช่วยพัมนาสังคม มาตรฐานความรู้ในวิชานีกำหนดให้มีความรับผิดชอบหลักข้อ 2.2.1.2   ความรับผิดชอบรองข้อ 2.2.1.3 -4
2.2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญในการทดสอบวัสดุ การทดสอบความแข็ง เครื่องทดสอบเอนกประสงค์ univesal vibration การทดสอบแบบไม่ทำลายสภาพ การทดสอบความล้า การทดสอบโดยการกระแทก
2.2.1.3. สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาวิศวกรรมการทดสอบวัสดุ กับความรุ้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
การสอนทฤษฎี หลักการทดสอบวัสดุ  และสอนวิธีปฏิบัติในการใช้เครื่องมือทดสอบประเภทต่างๆ 
การสอบกลางภาค ปลายภาค
การทดสอบย่อย
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
 
นักศึกษาต้องสามารถพัฒนาตนเองและประกอบวิชาชีพได้โดยพึ่งตนเองได้เมื่อจบการศึกษาแล้ว จำเป็นต้องรับการพัฒนาทักษะทางปัญญาไปพร้อมคุณธรรม จริยธรรม และความรุ้ในสาขา โดยอาจารย์ต้องเน้้นให้นักศึกษาคิดหาเหตุผล เข้าใจที่มาและสาเหตุของปัญหา วิธีการแก้ปัญหารวมทั้งแนวคิดด้วยตนเอง คุณสมบัติของนักศึกษาเพื่อให้เกิดทักษะปัญญาจากวิชานี้ คือ
2.3.1.3 สามารถคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเกิดได้อย่างสร้างสรรค์
การฝึกปฏิบัติการทดสอบวัสดุ 
การอภิปรายกลุ่ม การศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน และนำเสนอรายงาน
ประเมินจากผลรายงาน 
ประเมินจากการปฏิบัติงาน
การใช้แบบทดสอบ
การสัมภาษณ์
ความรับผิดชอบรองคือ 
4.2 มีความรับผิดชอต่องานที่ได้รับมอบหมาย                ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว ส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ
4.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณืและวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี       สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งหมดของตนเอง และสอดคลอ้งกับวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
ความคาดหวังและความสามารถที่ต้องได้รับความรับผิดชอบหลักในวิชานี้คือ 
4.4 มีภาวะผู้นำ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีร่วมกับผู้ร่วมงานในองค์กรกับบุคคลทั่วไป                           รู้จักบทบาทหน้าที่
กำหนดให้ทำกิจกรรมกลุ่ม ทำงานต้องประสานงานกับผู้อื่นในกลุ่ม
ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษา เป็นระยะ 
ประเมินผลจากการอภิปราย
สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
ความรับผิดชอบรองคือ 
5.4 ทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน การสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
ความรับผิดชอบหลักคือ
5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณ เครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรรมที่เกี่ยวข้องได้
จัดกิจกรรมฝึกปฏิบัติให้มีการวิเคราะห์
จัดกิจกรรมให้มีการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล นำเสนอให้ผู้อื่นให้เข้าใจได้อย่างถูกต้อง และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
 
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอข้อมูล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการนำเสนอข้อมูล วิธีการนำเสนอข้อมูล
ประเมินจากความสามารถในการอธิบายข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ 
การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
 
การทำงานในสถานประกอบการ หรือประกอบอาชีพนั้นไม่ได้ใช้เพียงหลักทฤษฎี แต่ส่วนใหญ่จะเน้นในทักษะการปฏิบัติ การใช้ทักษะในการวางแผน การออกแบบ การทดสอบ และการปรับปรุงแก้ไข ซึ่งมีความสำคัญมากในการทำงาน อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือที่จำเป็นในการพัฒนาตนเอง และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ของบัณฑิต  การเรียนเน้นการสร้างทักษะ 
6.1 (รอง) การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 (หลัก) ทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมมือกันเป็นอย่างดี
สนับสนุนการทำงานเป็นทีม
การนำเสนอผลการทำงาน
พฤติกรรมจากการปฏิบัติงาน
การประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3ปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรัีบผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1,4,5 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคม เคารพกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ 3 ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม ทำงานเป็นหมู่คณะ แก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1,4,5 2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ เชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาวิศวกรรมทดสอบวัสดุ 3 บูรณาการความรู้ในวิชาวิศวกรรมทดสอบวัสดุ กับศาสตร์อื่นๆ 4 วิเคราะห์แก้ปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 1,2,5 3 คิด วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาด้านวิศซกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4 จินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัว ส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณืและวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี       สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งหมดของตนเอง และสอดคลอ้งกับวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง รู้บทบาท หน้าที่ รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งบุคคลและกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1,4,5 1-3 4สื่อสารข้อมูลในการพูด เขียน สื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์ 5 ใช้เครื่องมือการคำนวณ เครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาที่เกี่ยวข้องได้ 6.1 ทักษะในการบริหารจัดการเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ วิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2ทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGIE212 วิศวกรรมการทดสอบวัสดุ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2 , 1.3 การตรงเวลาของนักศึกษา การเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.2 2.3 2.4 3.3 3.4 ประเมินจากรายงาน แบบฝึกหัด 1-17 20
3 2.2 3.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 40
4 4.2 4.3 4.4 5.4 5.5 6.1 6.2 ผลการนำเสนอผลงาน จากรายงานเดี่ยว และรายงานกลุ่ม สอบปฏิบัติ quiz 3-16 20
5 2.2 - 2.4 3.3-3.4 สอบย่อย สอบปฏิบัติ 14-16 10
ใบงานการทดสอบวัสดุ
เอกสารประกอบการทดสอบวัสดุ
 
http://mte.kmutt.ac.th/Elearning/charpy/objective.html
http://www.rmutphysics.com/charud/metal/1/Mechanical%20Properties.htm
http://e-book.ram.edu/e-book/inside/html/dlbook.asp?code=MY318(51)
http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=1818&pageid=8&read=true&count=true
http://engineeringmaterialsproject.blogspot.com/2015/12/3.html
ประเมินการสอนออนไลน์
อาจารย์ประจำวิชาทบทวนการประเมินการสอน
ผลการประเมินจากนักศึกษา ผลการเรียนรู้ของนักศึกษา กิจกรรมการเรียนการสอนมาปรับปรุงรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก พิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย  แจ้งคะแนนแก่ผู้เรียนเป็นระยะๆ และบันทึกหลังการสอน
รายงานใน มอค. 5