ศิลปะพื้นถิ่น

Local Arts

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศิลปะประจาชาติ ศิลปะล้านนา ศิลปะพื้นถิ่น รวมถึง วัฒนธรรมประเพณี งานหัตถศิลป์จากภูมิปัญญาทางศิลปะและสืบสานองค์ความรู้ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
เพื่อให้สอดคล้องกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับศิลปะประจาชาติ ศิลปะล้านนา ศิลปะพื้นถิ่น รวมถึง วัฒนธรรมประเพณี งานหัตถศิลป์จากภูมิปัญญาทางศิลปะและสืบสานองค์ความรู้ ภูมิปัญญาพื้นบ้าน
16 ชั่วโมง
(1) ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(3) มีจิตอาสาจิตสานึกสาธารณะ
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม สอนความรู้ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพในรายวิชาสอน ให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทางาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม ในทุกวิชา ประเมินจากผลการดาเนินงานตามแผนการสอน และประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
(1)  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง (3)  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคมภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการ ประยุกต์ใช้ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดย การศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทา (4) ประเมินจากการนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
(5) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ (6) ประเมินจากแผนการดาเนินงานศิลปนิพนธ์ที่นาเสนอ (7) ประเมินจากการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
(2) สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (3) สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและ
วิชาชีพได้
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้ นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วม แสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
(2) มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นอย่างมี ประสิทธิภาพ
(3) สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
สอดแทรกเรื่องความสาคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทาหน้าที่ผู้นาและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์ งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนาเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้น เรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
(2)  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (3)  มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลขหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สาหรับงานศิลปกรรม
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จาลอง และ สถานการณ์เสมือนจริง แล้วนาเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวลผล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูล การ นาเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข การเลือกใช้เครื่องมือทาง เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนาเสนอ
(1) สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทาตามแบบและใบงาน การใช้กรณีศึกษา โครงงาน และศิลปนิพนธ์ สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 3 1 3 2 3 2 3 2 3 1
1 BAACC410 ศิลปะพื้นถิ่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.5, 2.1 1.5, 2.1 - สอบกลางภาคเรียน - สอบปลายภาคเรียน 8, 17 15%, 15%
2 2.3.2 1.1.2 ฝึกปฎิบัติงานรายสัปดาห์ - การส่งงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1.2 การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
นวลออ ทินานนท์. ศิลปะพื้นบ้านไทย. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 2543 
นิรัช สุดสังข์. ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ. โอเดียนสโตร์. 2549
วัชรินทรื จรุงจิตสุนทร. หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: iDESIGN Publishing. 2550
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา แบบประเมินความพึงพอใจหลังจากปฏิบัติงานท้ายภาคการศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1 แต่งตั้งกรรมการหรือผู้สังเกตการสอนโดยสาขาวิชา 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 2.4 จัดทำรายงานสรุปผลรายบุคคลหลังจากการปฏิบัติงานท้ายภาคการศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1 วิเคราะห์ และวิพากษ์ผลงานจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ 5.3 เชิญผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานภายนอกมาสาธิตและร่วมบรรยาย 5.4 จัดกิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่