เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช

Plant Propagation Technology

1.1) เพื่อให้ทราบถึงความเป็นมาและความสำคัญของการขยายพันธุ์พืช
1.2) เพื่อให้เข้าใจถึงหลักการและสรีรวิทยาการขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศ
1.3) เพื่อให้สามารถขยายพันธุ์พืชโดยวิธีอาศัยเพศตามชนิดของพืช
1.4) เพื่อให้เข้าใจถึงหลักการและสรีรวิทยาการขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ
1.5) เพื่อให้สามารถขยายพันธุ์พืชโดยวิธีไม่อาศัยเพศตามชนิดของพืช
1.6) เพื่อให้สามารถเลือกใช้เทคนิคการขยายพันธุ์พืช เครื่องมืออุปกรณ์ และการดูแลรักษาต้นพันธุ์หลังขยาย
 2.1  เพื่อให้นักศึกษาสาขาพืชศาสตร์สามารถขยายพันธุ์พืชตามชนิดของพืชและดูแลรักษาต้นพันธุ์หลังขยาย        
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญ เครื่องมืออุปกรณ์ในการขยายพันธุ์พืช ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการขยายพันธุ์พืช การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการต่างๆ การดูแลรักษาต้นพันธุ์ที่ทำการขยายพันธุ์แล้ว การใช้สารเคมีและเทคนิคต่างๆ ในการขยายพันธุ์พืช
5
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพเกษตร ดังนี้
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
-มีความซื่อสัตย์สุจริตและประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
- การกำหนดเวลาเรียนและการตกลงขอบเขตเวลาส่งงานให้ตรงเวลา
- จัดให้มีการอภิปรายกลุ่ม กำหนดบทบาทของสมาชิกแต่คนในกลุ่ม
-สอนความซื่อสัตย์และและประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพระหว่างฝึกปฏิบัติขยายพันธุ์
 - ความตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
- ความซื่อสัตย์สุจริตของการสอบและเนื้อหางานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
มีความรู้และสามารถปฏิบัติการขยายพันธุ์โดยการขยายพันธุ์พืชวิธีต่างๆ ตลอดจนการประยุกต์และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการขยายพันธุ์พืชได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง
บรรยายหลักการทางทฤษฎีและให้นักศึกษาเน้นฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
 - ประเมินจากชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย
-พัฒนาการวิเคราะห์การวางแผนขยายพันธุ์พืชแบบองค์รวม
- ประยุกต์ใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์กับการขยายพันธุ์พืชตามสภาวะแวดล้อม
- การแบ่งกลุ่มงานขยายพันธุ์เพื่อจำหน่าย
- การมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติการขยายพันธุ์พืชตามแต่ละชนิดของพืชที่สนใจ 
- ประเมินผลงานที่มอบหมาย
- พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
- พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
- พัฒนาการมีจิตอาสา มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ
-จัดให้มีกิจกรรมกลุ่ม
-การสอนใช้ ทำความสะอาดวัสดุอุปกรณ์ของส่วนรวม
-พฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
-การตรวจวัสดุอุปกรณ์หังใช้งาน
-พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการนำเสนอในชั้นเรียน
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ความสำเร็จและล้มเหลวของการขยายพันธุ์พืช
- ทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์
- ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
-การสอนเทคนิคการขยายพันธุ์ของพืชแต่ละชนิด
-การคำนวณใช้สารเคมีเพื่อการขยายพันธุ์พืช
-ให้นักศึกษาสืบค้น และนำเสนอการขยายพันธุ์พืชในรูปแบบสื่อเทคโนโลยี
 
- การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
- ผลการประเมินความรู้ความเข้าใจงานนำเสนอของนักศึกษาชั้นเดียวกัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 2 3 2 2 1
1 BSCAG106 เทคโนโลยีการขยายพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม คะเเนเก็บจากกิจกรรม งานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5
2 2. ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 60
3 3. ทักษะทางปัญญา กิจกรรมระหว่างเรียน 9-16 10
4 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ จิตพิสัย 1-16 5
5 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ งานที่ได้รับมอบหมาย 16 10
ยิ่งยง ไพสุขศานติวัฒนา. 2562. เทคนิคขยายพันธุ์พืช. บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด 176 หน้า.
กรมส่งเสริมการเกษตร. 2543. การขยายพันธุ์พืช. กองเกษตรสัมพันธ์ 68 หน้า.
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ซึ่งแบบประเมินนี้จัดทำโดยสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เพื่อให้ผู้เรียนได้ประเมินการสอนของอาจารย์และเนื้อหาในรายวิชา - การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีดังนี้ - ผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากการประเมินการสอนในหัวข้อที่ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยจัดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการการจัดการองค์ความรู้เพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ให้กับอาจารย์ผู้สอน