การประยุกต์ใช้ตัวแบบธุรกิจยุคดิจิทัล

Application of Business Model in the Digital Era

เพื่อให้นักศึกษา เข้าใจและสามารถนำตัวแบบธุรกิจ การยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต การสร้างสรรค์มูลค่าและคุณค่าเพิ่มในสินค้าและบริการ การสร้างเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงขยายธุรกิจไปสู่การค้าระดับสากล การวิเคราะห์และเลือกใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมถึงการสร้างตัวแบบธุรกิจยุคดิจิทัล 3 กลุ่ม ได้แก่ ตัวแบบด้านเทคโนโลยี ตัวแบบด้านสังคม ตัวแบบด้านการจัดการองค์การ ไปประยุกต์ใช้ได้ในโลกธุรกิจ
เพื่อให้นักศึกษารู้เข้าใจ และสามารถประยุกต์ใช้ ตัวแบบธุรกิจ การยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต การสร้างสรรค์มูลค่าและคุณค่าเพิ่มในสินค้าและบริการ การสร้างเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงขยายธุรกิจไปสู่การค้าระดับสากล การวิเคราะห์และเลือกใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมถึงการสร้างตัวแบบธุรกิจยุคดิจิทัล 3 กลุ่ม ได้แก่ ตัวแบบด้านเทคโนโลยี ตัวแบบด้านสังคม ตัวแบบด้านการจัดการองค์การ ได้
ตัวแบบธุรกิจ การยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิต การสร้างสรรค์มูลค่าและคุณค่าเพิ่มในสินค้าและบริการ การสร้างเครือข่าย เพื่อเชื่อมโยงขยายธุรกิจไปสู่การค้าระดับสากล การวิเคราะห์และเลือกใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีที่เหมาะสม รวมถึงการสร้างตัวแบบธุรกิจยุคดิจิทัล 3 กลุ่ม ได้แก่ ตัวแบบด้านเทคโนโลยี ตัวแบบด้านสังคม ตัวแบบด้านการจัดการองค์การ
Business model, Upgrading and optimizing the production process. Creation of value and value added to products and services. Networking to expand international business. Analysis and selection of appropriate technological innovations Including the creation of 3 groups of business models in the digital age: technology models, social model and Organizational management model.
1
1.มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
2.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 2. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3. กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
1. การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 3. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
1.มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน
1. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป 3.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงานการทดสอบย่อย การนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
1.สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบด้านมีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ
1. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 2. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 3. การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1. ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 2. ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า กรณีศึกษา โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
1.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
2.มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
1. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป 2. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1. การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยนักศึกษา 2. พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี ในการทำงานกลุ่ม 3. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming) การทำงานที่มอบหมายในชั้นเรียน
1.สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
2.สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย 2. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูล และข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 3. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การทดสอบย่อยหรือการทำงานกลุ่ม สอบกลางภาคและปลายภาค 2. พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร 3. ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน
1.สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
1. ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการศึกษากรณีศึกษา การจำลองรูปแบบธุรกิจ หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2. การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ(Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 4 2 2 1 6 2 3 2
1 BBABA233 การประยุกต์ใช้ตัวแบบธุรกิจยุคดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2, 3.2, 5.2, 5.3, 6.2 การสอบกลางภาค และการสอบปลายภาค การสอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 และ การสอบปลายภาค 17 การสอบกลางภาค 20% และ การสอบปลายภาค 20%
2 1.3, 1.4, 2.2, 3.2, 4.1, 4.5, 5.2, 5.3, 6.2 แบบฝึกหัด การวิเคราะห์กรณีศึกษา (เดี่ยว/คู่, กลุ่ม) การอภิปรายกลุ่ม รายงานและการทดสอบย่อยในชั้นเรียน / รายงานและการนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยใช้สื่อที่เหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.3, 1.4, 4.1, 4.6 การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
Business Model Generation Book Writer : Alexander (Alex) Osterwalder 
Alex Osterwalder
https://www.alexosterwalder.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้           1.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ     1.2 การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ           1.3 การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ ดังนี้           2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ           2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้           3.1 การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้           4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา           4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)           4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ           4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงานในชั้นเรียน การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้           5.1 รายงานผลการทวนสอบสัมฤทธิ์รายวิชา ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา           5.2 นำผลการทวนสอบสัมฤทธิ์รายวิชา ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน           5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร