การบัญชีเฉพาะกิจการ

Accounting for Specific Enterprises

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เข้าใจเกี่ยวกับลักษณะการดำเนินงาน ระบบบัญชี การควบคุมภายใน การบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย รายงานผลการดำเนินงานและฐานะทางการเงินของหน่วยงานภาครัฐ โรงแรมและธุรกิจนำเที่ยว   
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักศึกษา ให้เป็นไปตามคุณลักษณะที่กำหนดในมาตรฐาน ผลการเรียนรู้     ทั้ง 5 ด้าน
ศึกษาลักษณะการดำเนินงาน ระบบบัญชี การควบคุมภายใน การบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย รายงานผลการดำเนินงานและฐานะการเงินของกิจกรรมนั้นๆ โดยเลือกศึกษาจากหน่วยงานและธุรกิจดังต่อไปนี้ หน่วยงานภาครัฐ โรงแรม ธุรกิจการท่องเที่ยว
นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตามตารางเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ โดยประมาณ 7 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1.1 มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฎิบัติตามกฎระเบียบของสถาบัน และสังคม
1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.4 มีจิตสำนึก และพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
1). สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาวิชาเรียน
2). ให้ความสำคัญในการมีวินัย การตรงต่อเวลา และการปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
3). การเรียนรู้และการสอนจากกรณีศึกษา
1). ประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาเกี่ยวกับการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การทำงานทันตามกำหนด และความพร้อมเพรียงของการเข้าร่วมกิจกรรม
2). ประเมินการกระทำทุจริตในการสอบ
3). ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4). สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.2 มีความรู้และความเข้าใจองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่น ๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
1). ใช้วิธีการสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหารายวิชาโดยเน้นแนวคิดหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ เช่น การสอนแบบบรรยายและอภิปราย การสอนแบบสาธิต การสอนแบบใช้สถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นกรณีปัญหา
2). การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
3). มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูล
4). การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
5). มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน
1). มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพื่อจัดทำรายงาน
1). ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น งานที่มอบหมาย การทดสอบย่อย รายงาน การค้นคว้า และการนำเสนอ
2). การประเมินจากการสอบข้อเขียน หรือ การสอบปฏิบัติ
3). ประเมินผลการเรียนรู้จากงานที่มอบหมาย
3.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุ และวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
1). ส่งเสริมการเรียนรู้ และฝึกกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบจากระดับง่ายไปสู่ระดับที่สูงขึ้น ตามระดับชั้นการศึกษา โดยใช้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษา หรือ สถานการณ์จำลอง
2.) สอนแบบเน้นผู้เป็นสำคัญเปิดโอกาศให้นักศึกษาค้นคว้ารายทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
3). สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน รวมทั้งอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
 
1.) ประเมินจากผลการแก้โจทย์แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหา กรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับ
2.) ประเมินผลจากการสอนที่ต้องใช้ทักษะทางปัญญาของแต่ละรายวิช
4.1 สามารถปฎิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.4 มีความรับผิดชอบพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพบัญชีของตนเองอย่างต่อเนื่อง
1).  มอบหมายการทำงานแบบกลุ่มย่อยโดยมีการสลับหมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
2). มอบหมายงานที่เกี่ยวข้องกับความรู้ด้านวิชาชีพบัญชีโดยให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3). ให้ศึกษาการแก้ปัญหาจากกรณีศึกษาต่างๆ
1). ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
2). ประเมินการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีจากแบบประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม ประเมินจากงานที่มอบหมายและระยเวลาในการส่งงาน
3). สังเกตุพฤติกรรมในชั้นเรียน
1). มอบหมายงานกรณีศึกษาที่ต้องที่ทักษะการคิดวิเคราะห์คำนวณตัวเลข
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2..ด้านการเรียนรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านการวิเคราะห์ ตัวเลขการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 1. 2. 3. 4. 1. 2. 3.
1 BACAC142 การบัญชีเฉพาะกิจการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,2.3,2.4 สอบกลางภาคเรียน บทที่ 1 - 7 การบัญชีโรงแรม 9 25
2 2.1,2.2,2.3,2.4,3.2 สอบปลายภาคเรียน การบัญชีโรงแรมและการบัญชีรัฐบาล 17 25
3 1.4,2.4,3.3,4.1,4.2 ใบงานที่ 1 เรื่องการจัดการและระบบบัญชีของโรงแรม 1-15 30
4 1.4,2.4,3.3,4.1,4.2 ใบงานที่ 2 เรื่องระบบการบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ 16 3
5 1.4,2.4,3.3,4.1,4.2 ใบงานที่ 3 โครงการเยี่ยวยาประชาชนในช่วงโรคระบาด COVID19 เกี่ยวข้องกับบัญชีรัฐบาลอย่างไรบ้าง 16 7
6 1.1,1.2,1.3,2.1,2.2,2.3,2.4,3.1,3.3,5.1 จิตพิสัย ประเมินการเข้าเรียน พฤติกรรมขณะเรียน การตอบข้อซักถามในห้องเรียน 1-17 10
การบัญชีรัฐบาล การบัญชีกองทุน การบัญชีเฉพาะกิจการ,  เชาวลี พงษ์ผาติโรจน์และคณะ
การบัญชีโรงแรม การวางแผน ควบคุมและการจัดทำรายงาน, ภัทรพงศ์ เจริญกิจจารุกร. มหวิทยาลัยสงขลารินทร์
ระบบบัญชีการโรงแรมภาคปฏิบัติ, วิระ ชัยปราโมทย์.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
www.tfac.or.th
www.tourismthailand.org
www.cgd.go.th
พระราชบัญญัติโรงแรม 2547
กรมบัญชีกลาง
ใช้การทดสอบปฏิบัติในแต่ละบท
ใช้แบบประเมินประสิทธิภาพการสอนของมหาวิทยาลัยในระบบออนไลน์
เน้นให้นักศึกษาเข้าใจถึงหลักการบัญชี และ มาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ให้กรรมการกำกับมาตรฐานวิชาการ เป็นผู้ประเมินโดยพิจารณาจากข้อสอบ และ การตัดเกรด
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ เป็นผู้นำเสนอข้อสอบ และการตัดเกรด  ก่อนที่จะมีการสอบและการประกาศผล
นำผลการประเมินในข้อ 1 และข้อ 2  ประกอบการพิจารณาข้อบกพร่องของวิธีการสอน  วิธีการประเมิน 
และ เนื้อหารายวิชา