สุนทรียศาสตร์

Aesthetics

 

รู้เข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ประวัติ ความสำคัญ และคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ เข้าใจประสบการณ์ทางสนุทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึก และการแสดงออกทางสนุทรียศาสตร์ รู้เข้าใจปัญหาเกี่ยวกับการมีอยู่ของความงามทางสนุทรียศาสตร์ รู้เข้าใจปัญหาการสร้างสรรค์ทางศิลปะ สุนทรีศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก สามารถทางประยุกต์ใช้สุนทรียศาสตร์ ในงานออกแบบอุตสาหกรรม
 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับความหมาย ประวัติ ความสำคัญ และคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ ประสบการณ์ทางสนุทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึก และการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับการมีอยู่ของความงาม ปัญหาการสร้างสรรค์ทางศิลปะ สุนทรีศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
ศึกษาความหมาย ประวัติ ความสำคัญ และคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ ประสบการณ์ทางสนุทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึก และการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับการมีอยู่ของความงาม การประเมินความงาม ปัญหาการสร้างสรรค์ทางศิลปะ สุนทรีศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
 
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
 
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนาสามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
 
 
 
 
บรรยาย มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน
ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นำเสนอข้อมูล
ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1), 1(2) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ในระบบ Online ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1-16 10
2 2(1), 2(2), 2(3) ผลงานรายบุคคล / ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด / เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 2-16 40
3 3(2), 3(3) การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 8,17 40
5 5(1) การนำเสนอ (วาจาและสื่อ) 2-16 10
กำจร สุนพงษ์ศรี. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพ . 2555. กำจร สุนพงษ์ศรี. ประวัติศาสตร์สิลปะตะวันตก. กรุงเทพ. 2551. วนิดา ขำเขียว. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ. 2543. วิรุณ ตั้งเจริญ. ประวัติศาสตร์ศิลป์และการออกแบบ. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์สันติศิริ. 2544. วิรุณ ตั้งเจริญ. สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์สันติศิริ. 2546. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะชาวบ้าน. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์. 2546. ปัญญา เทพสิงห์. ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548. ธีรยุทธ บุญมี. ถอดรื้อปรัชญาศิลปะแบบตะวันตกเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : สานธาร. 2546. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะชาวบ้าน. กรุงเทพฯ : อัมรินทร์. 2546. ชลูด นิ่มเสมอ. องค์ประกอบของศิลปะ . กรุงเทพ : ไทยวัฒนาพานิช. 2531. สุชาติ เถาทอง. ศิลปะวิจารณ์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2537. สมชาย พรหมสุวรรณ. หลักการทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548