ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 4

Practical Skills in Plant Science 4

 
1.1 มีทักษะความชำนาญที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืช
1.2 มีทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์พื้นฐานทางการผลิตพืช
1.3 มีทักษะในการเตรียมดิน การป้องกันกำจัดศัตรูพืช การปลูก การดูแลรักษา และเก็บเกี่ยวผลผลิต ในแผนกที่นักศึกษาสนใจเป็นพิเศษ
1.4 สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
  ฝึกทักษะวิชาชีพทางพืชศาสตร์เพื่อสร้างประสบการณ์ในการผลิตพืชอย่างเป็นระบบ โดยให้เลือกฝึกปฏิบัติงานในแผนกต่างๆ ของสาขาพืชศาสตร์ที่นักศึกษาสนใจเป็นพิเศษ ดำเนินการสร้างทักษะในการผลิตพืชครบวงจร เพื่อให้สามารถเข้าใจช่องทางในการสร้างอาชีพและรายได้
           The practice of practical skills in plant science for crops production system by selecting internship in a desired plant science department’s sub-divisions to complete a cycle of crop production and to gain skills and understanding in making a career in
3.1 วันจันทร์ – วันศุกร์ ในเวลาราชการ ณ ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์ โทร.. 0861876760
3.2  E-mail : bunjong_19@hotmail.com  เวลา 08.00 - 21.00 น. ทุกวัน
 1.1 มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศีลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
1.2 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
-มีการสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหา โดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม  จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
-กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆเช่นให้เข้าปฏิบัติงานตรงเวลาและสม่ำเสมอ
-ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย ปฏิบัติงานให้สำเร็จตามกำหนด
- ร้อยละ 80 ของนักศึกษาเข้าปฏิบัติงานตรงเวลา
- ร้อยละ  85 ของนักศึกษาปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้ฝึกกำหนด
2.1มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่าง ถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
     2.2 มีความรอบรู้ หมายถึง มีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ใน การดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
- อธิบายวัตถุประสงค์ บรรยายความรู้ทั่วไปและวิธีปฏิบัติในการขยายพันธุ์ การปลูกและการบำรุงรักษาพืชในแต่ละสัปดาห์ตามแผนการผลิต
-ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
- นักศึกษาบันทึกขั้นตอนการปฏิบัติงาน  ผลจากการปฏิบัติงาน ตลอดจนอุปสรรคปัญหาที่เกิด
 ประเมินผลการผลการปฏิบัติงาน จาก
- ความถูกต้องของการปฏิบัติงาน
- ปริมาณและคุณภาพของงานที่ปฏิบัติได้
- ความสมบูรณ์เรียบร้อยของการบันทึกผลการปฏิบัติงาน
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ หมายถึง แสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆ อย่างสม่ำเสมอและรู้จักเทคนิควิธีและกระบวนการในการเรียนรู้และสามารถนำไปใช้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
-ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน โดยสังเกตทักษะด้านต่างๆ
  - การมีทักษะในการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับประเภทของงาน
 4.1  ภาวะผู้นำ หมายถึง กล้าแสดงออก กล้าหาญ อดทน หนักแน่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สุภาพ สามารถประสานความคิดและประโยชน์ด้วยหลักแห่งเหตุผลและความถูกต้อง มีความซื่อสัตย์ สุจริต ยุติธรรม รักองค์กร เป็นผู้นำกลุ่มกิจกรรมได้ทุกระดับและสถานการณ์ที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ของตนเองทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
4.2   มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
-แบ่งกลุ่มนักศึกษาเท่ากับจำนวนฐานฝึกทักษะวิชาชีพของสาขา
-ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานร่วมกัน ในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
- ประเมินจากพฤติกรรมในระหว่างปฏิบัติงานร่วมกันของนักศึกษา
- ประเมินผลจากการทำความสะอาดและส่งคืนเครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง  พูด อ่านและเขียน เพื่อการสื่อสารให้เหมาะกับสถานการณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษ ในการอ่าน พูด ฟัง และเขียน
5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการวางแผนการผลิต/การดำเนินงาน โดยสืบค้นข้อมูลที่จำเป็นจากแหล่งต่างๆ
- มอบหมายให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการผลิต และสืบค้นแนวทางในการแก้ไขปัญหาแล้วนำมาประยุกต์ใช้
- รายงานผลการฝึกทักษะ โดยให้มีการวิเคราะห์ในการนำความรู้ไปใช้ในการเรียนวิชาชีพทางพืชศาสตร์ต่อไป
-ให้นักศึกษานำเสนอภาพรวม
ผลการปฏิบัติงานในคาบสุดท้ายก่อนสอบปลายภาค โดยนำเสนอในรูปของ Powerpoint  
-ประเมินผลจากการนำข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาการผลิต
- ประเมินผลจากคุณภาพงานที่นำเสนอและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการผลิตของหมวดงานที่ได้เข้าไปฝึกปฏิบัติงาน
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
-ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในโรงเรือนและแปลงเพาะปลูกพืชชนิดต่างๆ ตามแผนการผลิตของแต่ละหมวดงาน
- มอบหมายงานให้ปฏิบัติเพิ่มเติม 1 ชิ้นงานเป็น PBL.
คุณภาพของผลงานมอบหมายจากการปฏิบัติจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG104 ทักษะวิชาชีพพืชศาสตร์ 4
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ หมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม สังเกตพฤติกรรม กิจนิสัยในการทำงานด้วยความรับผิดชอบ รอบคอบ ขยันและอดทน มีจรรยาบรรณ มีจิตสำนึก ใส่ใจสิ่งแวดล้อม 1-17 30%
2 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจ ในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบ ทั้งหลักการ ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง - ผลการปฏิบัติงานทางด้านปริมาณและ คุณภาพ 1-17 25%
3 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ - ผลการปฏิบัติงานทางด้านปริมาณและ คุณภาพ 1-17 25%
4 6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ - ผลสัมฤทธิ์ของงานมอบหมาย (PBS) ทั้ง ทางด้านปริมาณและคุณภาพ - ความคล่องแคล่ว ชำนาญการ 1-17 15%
5 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเสนอผลงานมอบหมาย (PBL) 1-17 5 %
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชสวนประดับ-ไม้ดอก  ไม้ผล   การผลิตพืชทั่วไป การจัดการก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว และ อารักขาพืช
ไม่มี
ไม่มี
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชาได้แก่วิธีการสอนการจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียนสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยภาควิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียนนอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนิสิตและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนโดยการสุ่มรายวิชาภายในรอบเวลาหลักสูตร
 สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนิสิตผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชาการรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอภาควิชา / คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป