แอนิเมชั่น

Animation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในความหมายของการทำงานแอนิเมชัน ประวัติศาสตร์ พัฒนาการ ประเภทของงานแอนิเมชัน การวาดการ์ตูน การออกแบบตัวละคร เครื่องแต่งกาย และฉาก หลักการที่สำคัญเกี่ยวข้องในการทำงานแอนิเมชัน
มุ่งเน้นให้นักศึกษาเข้าใจถึงหลักการของการทำงานออกแบบแอนิเมชันอย่างลึกซึ้งก่อนนำไปทดลองปฏิบัติงาน 
จัดทำใบงานให้ชัดเจน แจกล่วงหน้าให้นักศึกษานำไปวางแผนในการทำงาน หรือเตรียมการออกแบบ หรือร่างตัวละครมาก่อน เพื่อลดเวลาในการคิดงาน สามารถเริ่มทำงานได้ทันที หลังการบรรยาย
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการ และทฤษฎีแอนิเมชัน บทบาท ประวัติความเป็นมาการผลิตแอนิเมชัน ประเภทของแอนิเมชัน การวาดการ์ตูนพื้นฐาน การออกแบบตัวละครการ์ตูน การออกแบบบุคลิก ท่าทาง เครื่องแต่งกายของตัวละคร งานออกแบบสิ่งของและฉาก หลักการสร้างงานแอนิเมชัน 2 มิติ และ 3 มิติ
2 ชั่วโมงโดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอน แจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และติดประกาศไว้ที่บอร์ดประจำสาขาวิชา
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- อภิปรายกลุ่ม  - กรณีศึกษา  - วิเคราะห์ผลงาน  - การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
- ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา  - ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การแต่งกาย การตรงต่อเวลา  - ประเมินผลจากการวิเคราะห์ชิ้นงานปฏิบัติ กลุ่มและเดี่ยว  - ประเมินผลจากรายงาน กลุ่ม และเดี่ยว
- รอบรู้ในศาสตร์ทางแอนิเมชัน และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับงานแอนิเมชัน  - มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านแอนิเมชันอย่างเป็นระบบ  - มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือขั้นตอนในการปฏิบัติงานแอนิเมชัน และงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
- บรรยาย  - อภิปรายกลุ่ม  - กรณีศึกษา  - ปฏิบัติงาน  - การถามตอบ  - การศึกษาค้นคว้าทำรายงานกลุ่ม และเดี่ยว
- ประเมินผลจากรายงาน กลุ่ม และเดี่ยว  - ประเมินจากการสอบกลางภาค ปลายภาค และสอบย่อย
- สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ
- ทำงานมอบหมาย  - การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว
- ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติกลุ่ม และเดี่ยว  - ประเมินกระบวนการทำงาน
- มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมี มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- ปฏิบัติงาน  - การถามตอบ  - การทำงานกลุ่ม และงานเดี่ยว  - นำเสนองานด้วยวาจาสื่ออื่น ๆ
- ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การแต่งกาย การตรงต่อเวลา  - ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติ กลุ่มและเดี่ยว  - ประเมินผลจากรายงานกลุ่ม และเดี่ยว  - ประเมินจากการนำเสนองานด้วยวาจา ด้วยโปสเตอร์ และสื่ออื่น ๆ
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  - สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน หรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  - มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
- อภิปรายกลุ่ม  - การศึกษาค้นคว้าทำรายงาน  - นำเสนองานด้วยวาจา สื่อ
- ประเมินจากการนำเสนองาน  - ประเมินกระบวนการทำงานด้วยวาจา ด้วยโปสเตอร์ และสื่ออื่น ๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมี มนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD113 แอนิเมชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 4.1 ประเมินผลจากการเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา ประเมินผลจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การแต่งกาย การตรงต่อเวลา 1-16 10
2 1.1, 2.1, 2.2, 2.4, 4.1 ประเมินจากการสอบกลางภาค ปลายภาค และสอบย่อย 9, 17 30
3 3.1, 4.1 ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติเดี่ยว 1-16 35
4 3.1, 4.1 ประเมินผลจากชิ้นงานปฏิบัติกลุ่ม ประเมินกระบวนการทำงาน 2, 3, 7, 9, 12, 16 15
5 4.1, 5.1, 5.2, 5.3 ประเมินจากการนำเสนองาน ประเมินจากการนำเสนองานด้วยวาจา ด้วยโปสเตอร์ และสื่ออื่น ๆ 1-17 10
-
- The complete animation course / Chris Patmore.  - Animation in process Andrew Selby.  - Secrets of digital animation : a master class in innovative tools and techniques Steven Withrow.  - 2D and beyond Jayne Pilling.  - The anime machine = a media theory of animation Thomas Lamarre  - Stop motion : craft skills for model animation Susannah Shaw  - The advanced art of stop-motion animation /Ken A. Priebe; foreward by Henry Selick.  - The animation book : a complete guide to animated filmmaking, from flip-books to sound cartoons to 3-Danimation Kit Laybourne ; preface by George - Griffin ;introduction by John Canemaker.  - The complete guide to-- Anime techniques : create mesmerizing manga-style animation with pencils, paint, andpixels Chi Hang Li, Chris Patmore and Hayden Scott-Baron.  - Animation : art and industry Maureen Furniss.  - The animator's survival kit Richard Williams  - การสร้าง 2D แอนิเมชัน ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล  - Manga.  - How to draw manga ultimate manga lesson = สุดยอดบทเรียนการวาดการ์ตูนเรื่อง เล่ม 4 การวาดตัวละครให้ดูมีชีวิต  - How to draw Manga vol.4 การวาดเครื่องแต่งกายการ์ตูน / The Society for the study of Manga Techniques  - Manga characters Philippe de Baeck  - การวาดหุ่นยนต์ = How to Draw Manga Giant Robots /ฮิคารุ ฮายาชิ
- เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับงานแอนิเมชัน  - เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับงานวาดการ์ตูน
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้  1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  1.2 การแสดงความคิดเห็น  1.3 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ
1.4 การประเมินตนเองของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้             2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา             2.2 ผลการประเมินตามข้อ 1             2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา             2.4 อาจารย์ผู้สอนประเมินตัวเอง  ความพึงพอใจการสอน  ความเหมาะสมของการเตรียมการสอน            ข้อควรปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป
3.1 บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข  3.2 การประชุมคณาจารย์เพื่อปรับปรุงการสอน โดยใช้ข้อมูล ผลการประเมินของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา การประเมินผลตนเอง บันทึกการสอน
4.1 ทวนสอบความถูกต้องของคะแนนอาจารย์ โดยประกาศคะแนนแต่ละส่วนให้นักศึกษาทวนสอบของตัวเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไข  4.2 อาจารย์ทวนสอบการให้คะแนนกับพฤติกรรมของนักศึกษา  4.3 นักศึกษาประเมินตนเอง  4.4 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจาหลักสูตร (สุ่มตรวจ)
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป ในเรื่อง เนื้อหา ลำดับการสอน และวิธีประเมินผลการสอน