คอมพิวเตอร์เพื่องานออกแบบสื่อสาร

Computer for Communication Design

1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม

⬤ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น

 
2. ด้านความรู้

 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 

 
3. ด้านทักษะทางปัญญา

⬤ สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์

 
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
 

⬤ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ

 
6. ด้านทักษะพิสัย

⬤ มีทักษะในการทาตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ

 

⬤ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง

 

 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน

 
 
 
 
 
ในรายวิชา BAACD106 คอมพิวเตอร์เพื่องานออกแบบสื่อสาร เทอม 2/2564 ได้มีการปรับเปลี่ยนจำนวนคาบในการเรียนแต่ละโปรแกรมให้มีความเหมาะสมมากขึ้นและเพิ่มโปรแกรม Indesign เข้ามาเพิ่อช่วยเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาในการทำสิ่งพิมพ์อนไลน์และออฟไลน์ และจะสอดแทรกเนื้อหาของงานให้นักศึกษาได้ลองคิด วิเคราะห์ และพัฒนาในรูปแบบสื่อสมัยใหม่ โดยผสมผสานเข้ากับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่นักศึกษาจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้ เช่น ด้านสิ่งแวดล้อม สุขภาพ โลก และการเป็นพลเมืองที่ดี รวมถึงมีการบูรณาการรายวิชาเข้ากับชุมชนเพิ่มอีกด้วย
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรมกราฟิกประเภทเวคเตอร์ บิทแมพ โปรแกรมสำหรับออกแบบสิ่งพิมพ์ เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบสื่อ
อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งให้นักศึกษาทราบถึงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรกของการสอน อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า)
⬤ 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
✓ ฝึกปฏิบัติ 
✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม) 1.2  

   
 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 
✓ สาธิต/ดูงาน
✓ ฝึกปฏิบัติ
✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
✓ ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
  ⬤ 3.2 สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์     

 
✓ นำเสนอข้อมูล
✓ ฝึกปฏิบัติ
✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
✓ ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / แฟ้มสะสมผลงาน)
✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
⬤ 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 
 
✓ มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
✓ ฝึกปฏิบัติ
✓ ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมและความรับผิดชอบ
✓ ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
✓ ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
✓ ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน)
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
⬤ 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
⬤ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
✓ มอบหมายงานบุคคล (ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 
✓ นำเสนอข้อมูล
✓ ฝึกปฏิบัติ
✓ ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์)
✓ ประเมินจากการสอบปฏิบัติ
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
✓ ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD106 คอมพิวเตอร์เพื่องานออกแบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรมจริยธรรม การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน ทัศนคติที่เปิดกว้างและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น 1-18 5
2 ความรู้ สอบกลางภาคและปลายภาค (สอบปฏิบัติ) 9,18 10
3 ทักษะทางปัญญา การปฏิบัติงาน การนำเสนองาน และผลงานรายบุคคล / กลุ่ม 1-16 15
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1-18 5
5 ทักษะพิสัย งานปฏิบัติในคาบเรียน 1-18 65
-
อิศเรศ ภาชนะกาญจน์.(2556).Essential Photoshop CS6 ตกแต่งภาพและสร้างงานกราฟิก: ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด
ปาพจน์ หนุนภักดี.(2555).Graphic Design Principleนนทบุรี: ไอ ดี ซี พรีเมียร์ จำกัด.
วสันต์ พึ่งพูนผล.(2558).Professional Guide Illustrator CC คู่มือฉบับสมบูรณ์.นนทบุรี: ไอ ดี ซี พรีเมียร์ จำกัด.
เนรมิต แผ่นทอง.(2556). คู่มือใช้งาน & แต่งภาพให้สวย Photoshop CS6.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด.
ภาคย์พงศ์ พงศ์อติชาต.(2553). Hobby Retouch Photoshop.พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด.
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา
ได้ดังนี้
๑.๑ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
๑.๒ แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
๑.๓ ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
๒.๑ การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
๒.๒ ผลการเรียนของนักศึกษา
๒.๓ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
๓.๑ สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
๓.๒ การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
๔.๑ การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
๔.๒ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
๕.๑ ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
๕.๒ เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ