การประกอบธุรกิจการค้าและบริการมืออาชีพ

Entrepreneurship for Professional Trade and Service Business

         1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติงานจริงสำคัญนักศึกษาที่จะประกอบอาชีพด้านนี้โดยตรง           - มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ           - มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทและความรับผิดชอบของผู้ร่วมลงทุนในการสร้างธุรกิจใหม่           - มีความรู้ ความเข้าในในกระบวนการสร้างธุรกิจใหม่            - สามารถนำความรู้ไปพัฒนาและประเมินโอกาสของการทำธุรกิจใหม่           - รู้จริยธรรมการเป็นผู้ประกอบการที่ดี สามารถเอาตัวรอดผ่านปัญหาและอุปสรรค
 
         ศึกษาถึงคุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ การพัฒนาและประเมินโอกาสของการประกอบการ บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ร่วมลงทุนในการสร้างธุรกิจใหม่ การพัฒนาแผนสำหรับธุรกิจใหม่ กระบวนการสร้างธุรกิจใหม่ จริยธรรมการเป็นผู้ประกอบการและประเด็นอื่นในการจัดการการประกอบการ
องค์ความรู้เกี่ยวกับการประกอบการ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประกอบการ การจัดตั้งองค์กรณ์ธุรกิจ หลักทฤษฎี และปฏิบัติการธุรกิจ คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการ การสร้างแรงบันดาลใจในการเป็นผู้ประกอบการ การวิเคราะห์ปัญหาและโอกาสของผู้ประกอบ การการแสวงหาโอกาสใหม่ทางธุรกิจ ปัญหาและอุปสรรคเมื่อเริ่มต้นสร้างกิจการ ทักษะที่จำเป็นสำหรับการเขียนแผนธุรกิจที่ครบถ้วน และประสบความสำเร็จการบริหารจัดการธุรกิจใหม่ให้เติบโต และมีผลกำไร การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เทคนิคการนำเสนอสินค้าและบริการ การเลือกทำเลที่ตั้ง การวิเคราะห์อุตสาหกรรม
8 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 
อังคาร 12.30-16.30
พุธ 8.30-12.30
                 1. มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน                   2. สำนึกในหน้าที่ของตนเองและเพื่อนร่วมงาน                   3. ไม่คัดลอกหรือสำเนาผลงานของผู้อื่น
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน                   2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย                   3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย                   4. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ                   5. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์                   6. การบรรยาย                   7. การเรียนการสอนแบบร่วมมือ                   8. อภิปราย                   9. การทำการบ้านและฝึกปฏิบัติ                   10. การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
1. ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วม                   กิจกรรม                   2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย                   3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
                 1. คุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ                    2. การพัฒนาและประเมินโอกาสของการประกอบการ                    3. บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ร่วมลงทุนในการสร้างธุรกิจใหม่                    4. การพัฒนาแผนสำหรับธุรกิจใหม่                    5. กระบวนการสร้างธุรกิจใหม่                    6. จริยธรรมการเป็นผู้ประกอบการ                   7. ประเด็นอื่นในการจัดการการประกอบการ                   8.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประกอบการ                   9.การจัดตั้งธุรกิจ                   10.หลักทฤษฏีและปฏิบัติการทางธุรกิจ                   11.การบริหารทรัพยากร                   12.การบริหารเงินทุน                   13.การจัดการการบัญชี                   14.การผลิต                   15.การตลาด และช่องทางการจัดจำหน่าย
                 1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็นตัวอย่างทางธุรกิจทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญ่ ที่ประสบปัญหา                   หรือได้รับผลกระทบทางด้านสภาพคล่องทางการเงิน และการมีส่วนร่วมในการให้ความเห็น                   2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงที่เกิดขึ้น ณ ปัจจุบันหรือกรณีศึกษาที่มีความโดดเด่น                   3. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน                   4. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย                   5. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย                   6. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ                   7. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์                   8. การบรรยาย                   9. การเรียนการสอนแบบร่วมมือ                   10. อภิปราย                   11. การทำการบ้านและฝึกปฏิบัติ                   12. การมีส่วนร่วมของนักศึกษา 
 
                 1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน                   2. การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน                   3. ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา                   4. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและทำงานอื่นๆ
 
                 1. สามารถบูรณการความรู้ในศาสตร์บริหารธุรกิจต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม                    2. สามารถสืบค้นและประเมินข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย                   3. สามารถคิดวิเคราะห์ รู้เท่าทันสถานการณ์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์                   4. สามารถนำความรู้ ไปเพื่อทำความเข้าใจ สร้างสรรค์สังคมและพัฒนาประเทศ
                 1. จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่น สะท้อนคิด อภิปราย                   กลุ่ม การทำกรณีศึกษา ฯลฯ                   2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ทำรายงาน หาข้อมูล วิจัย
                 1. การเขียนรายงานของนักศึกษา                   2. การนำเสนอผลงาน                   3. การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
1. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม                    2. สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำและ                    สมาชิกของกลุ่ม                   3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป                   4. สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข                   5. รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
 
1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล                   2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์และคุณธรรมจริยธรรม ฯลฯ
 
1. สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะทำกิจกรรมกลุ่ม                   2. การนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม                   3. ประเมินความสม่ำเสมอของการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม
 
                 1. สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน                   2. ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์                     เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร                   3. ศึกษาการจัดการทางบัญชี
 
1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน                     ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ                   2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหลากหลายและเหมาะสม                   3. จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
 
                 1. ทักษะการพูดในการนำเสนอผลงาน                   2. ทักษะการเขียนรายงาน                   3. ทักษะการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขันทางธุรกิจ คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือ ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
1 BBABA329 การประกอบธุรกิจการค้าและบริการมืออาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1. มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและเพื่อนร่วมงาน 2. สำนึกในหน้าที่ของตนเองและเพื่อนร่วมงาน 3. ไม่คัดลอกหรือสำเนาผลงานของผู้อื่น 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge that need to be gained) 1. คุณลักษณะและทักษะที่จำเป็นของผู้ประกอบการ 2. การพัฒนาและประเมินโอกาสของการประกอบการ 3. บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ร่วมลงทุนในการสร้างธุรกิจใหม่ 4. การพัฒนาแผนสำหรับธุรกิจใหม่ 5. กระบวนการสร้างธุรกิจใหม่ 6. จริยธรรมการเป็นผู้ประกอบการ 7. ประเด็นอื่นในการจัดการการประกอบการ 8.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประกอบการ 9.การจัดตั้งธุรกิจ 10.หลักทฤษฏีและปฏิบัติการทางธุรกิจ 11.การบริหารทรัพยากร 12.การบริหารเงินทุน 13.การจัดการการบัญชี 14.การผลิต 15.การตลาด และช่องทางการจัดจำหน่าย 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Intellectual skills that need to be developed) 1. สามารถบูรณการความรู้ในศาสตร์บริหารธุรกิจต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม 2. สามารถสืบค้นและประเมินข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 3. สามารถคิดวิเคราะห์ รู้เท่าทันสถานการณ์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 4. สามารถนำความรู้ ไปเพื่อทำความเข้าใจ สร้างสรรค์สังคมและพัฒนาประเทศ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal skills and responsibility that need to be developed) 4.1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 1. มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม 2. สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำและ สมาชิกของกลุ่ม 3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป 4. สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข 5. รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา (Numeric analysis, communication and information technology skills that need to be developed) 1. สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน 2. ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร 3. ศึกษาการจัดการทางบัญชี สอบกลางภาค สอบปลายภาค การทำรายงาน แบบฝึกหัดท้ายชั่วโมง การเสนอความคิดเป็นในชั้นเรียน การเข้าเรียน 8 16 ตลอดภาคการศึกษา 20% 40% 30% 5% 5%
           1) การเป็นผู้ประกอบการ , , 2552 รองศาสตราจารย์ พิบูล ทีปะปาล สำนักพิมพ์อมรการพิมพ์           2) การเป็นผู้ประกอบการ (คู่มือเรียนรู้การเป็นผู้ประกอบการมืออาชีพ) ครั้งที่ 4 , 2553 รองศาสตราจารย์ สมคิด บางโม สำนักพิมพ์ เอส เค บุ๊คส์            3) คู่มือการเสริมสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการ (ม.ค.2555) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา           4) การจัดการธุรกิจขนาดย่อม , 2552 ดร.บิติรัตน์ มีมาก , ดร.ฉัตยาพร เสมอใจ และ คมกฤช ปิติฤกษ์ สำนักพิมพ์ซีเอ็ด           5) หนังสือเรื่อง สร้างกิจการให้ตัวเอง           6) การจัดการธุรกิจขนาดย่อม , 2552 ดร.ฐิติรัตน์ มีมาก , ดร.ฉัตยาพร เสมอใจ และ คมกฤช ปิติฤกษ์ สำนักพิมพ์ซีเอ็ด           7) การจัดการธุรกิจ , พนิดา พานิชกุล           8) การจัดการธุรกิจขนาดเล็ก , TIMOTHY S. HATTEN / วิพุธ อ่องสกุล และคณะ :แปล           9) กลยุทธ์สู่ความสำเร็จในธุรกิจส่วนตัว ดร.ก้องเกียรติ โอภาสวงการ           10) คู่มือบริหารธุรกิจส่วนตัว , ชูศีล ตรังตรีชาติ           11) เกมการจัดการธุรกิจ (ฉบับปรับปรุง) , JERALD R. SMITH และคณะ           12) ธุรกิจเราเอาไงดี? , BIZ COACH           13) ธุรกิจดีต้องมีกำไร , 2557 สยาม อินทรักษานนท์           14) สร้างสินค้า ขายดี มีดีไซน์ ทำง่าย รายได้ดี , 2557 จตุรงค์ ศรีวิลาศ
           1. แหล่งข้อมูลอ่านนอกเวลา            - www.ksmecare.com           - www.manager.co.th           - www.banmuang.co.th           - www.thanonline.co.th           - www.prachachart.co.th
การเป็นนักธุรกิจแบบมืออาชีพ
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา           การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรี ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้           - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
 
           1. กลยุทธ์การประเมินการสอน           ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้           - ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา           - การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
 
           1. การปรับปรุงการสอน           หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนและสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
 
           1. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา           ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชา
 
1. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา           จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้           - ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4