พฤติกรรมและสวัสดิภาพสัตว์

Behavior and Animal Welfare

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฏหมายสวัสดิภาพสัตว์
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการปศุสัตว์เกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฏหมายสวัสดิภาพสัตว์
3  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
1.1 .คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
1.1.1.มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1.2.แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
 1.1.3.มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 1.1.4.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
  1.1.5.เคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.2.1.บรรยายพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์
1.2.2.มอบหมายให้ทำรายงานเป็นรายบุคคล โดยให้ยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับข้อ 1.2.1
1.3.3 ประเมินวิธีการเรียนที่ดีก่อนและหลังการเรียน และการควบคุมระหว่างกระบวนการเรียนในภาคทฤษฏี
1.3.1 สอบข้อเขียนความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์
1.3.2  ประเมินการส่งรายงานตามที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลา
1.3.3 ประเมินวิธีการเรียนที่ดีก่อนและหลังการเรียนและการควบคุมระหว่างกระบวนการเรียนในภาคทฤษฏี
 
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สัมพันธ์กันพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์  และการทำวิจัย    
2.1.2 มีความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้
2.1.3 มีความรู้และสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีการบรรจุ และเทคโนโลยีชีวภาพ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 มีความคุ้นเคยกับความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ 
2.1.5 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางวิชาการ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.2.1 บรรยายเกี่ยวกับโครงสร้างพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์
2.2.2 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง
2.3.1 สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2.3.2 สอบข้อเขียนเกี่ยวกับโครงสร้างพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์
 2.3.3 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยโครงสร้างพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์เช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
3.1.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศแนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆ ได้ด้วยตนเอง
3.1.2 สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ในภาคปฏิบัติ และผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น  
3.1.3 สามารถใช้ทักษะและความรู้ความเข้าใจอันถ่องแท้ในเกี่ยวกับ โครงสร้างพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง การศึกษาพฤติกรรม ระบบต่อมไร่ท่อที่เกี่ยวกับพฤติกรรม พันธุศาสตร์ของพฤติกรรม การประยุกต์ใช้พฤติกรรมเพื่อการผลิตสัตว์และสวัสดิภาพสัตว์ สวัสดิภาพสัตว์กับการค้ายุคใหม่ กฎหมายสวัสดิภาพสัตว์
3.1.4 มีทักษะปฏิบัติตามที่ได้รับการฝึกฝน จากเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.2.1 มีการบรรยายตามหัวข้อ
3.2.2 อธิบายเป็นลำดับขั้นตอน แบ่งกลุ่มนักศึกษา แนะนำเทคนิคระหว่างการเรียน คอยกำชับนักศึกษาให้ติดตามการควบคุมบางขั้นตอนพฤติกรรมที่สำคัญและวิจารณ์พฤติกรรมร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
3.2.3 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางพฤติกรรมสัตว์ต่างๆของสัตว์เลี้ยง
3.3.1 สอบ
3.3.2 ประเมินทักษะและการแก้ไขปัญหาระหว่างเรียน
3.3.3 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางพฤติกรรมสัตว์ต่างๆเช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
 
4.1.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.1.2 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพและแก้ไขข้อขัดข้องได้อย่างเหมาะสม
4.1.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
4.1.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคล อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏี

4.2.3     แบ่งกลุ่มนักศึกษาในขั้นกำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่มทุกสัปดาห์อธิบายบทบาทและหน้าที่ของผู้นำและผู้ตามภายในกลุ่ม
4.3.1 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
4.3.2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
4.3.3 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
5.1.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียาสัตว์และการใช้ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.1.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ  เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.1.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการกับข้อมูลต่างๆ อย่างเหมาะสม
5.1.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้และเหมาะสม
5.2.1 บรรยายวิธีการคำนวณสูตรการผลิต ร้อยละของอัตราการผลิตและคำนวณต้นทุนการผลิต
5.2.2 มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ ทางพฤติกรรมสัตว์ต่างๆและการใช้ที่มีการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
5.3.1 ทดสอบการคำนวณร้อยละของอัตราการแสดงพฤติกรรม
5.3.2 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางพฤติกรรมสัตว์ต่างๆเช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
6.1.1 มีทักษะการบริหารเวลาในการเรียนได้อย่างเหมาะสม
6.1.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม
6.1.3 มีทักษะในการศึกษาพฤติกรรมสัตว์ต่างๆที่เหมาะสม
6.2.1 อธิบายวิธีการเรียน และลำดับขั้นตอนการเรียน
ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม ประเมินการเรียนอย่างเหมาะสม สอบภาคทฤษฏีและประเมินคุณภาพบทสุดท้าย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบ 35%
2 สอบปลายภาค สอบ 17 35%
3 รายงาน ส่งรายงาน 1-17 20%
4 จิตพิสัย จิตพิสัย 1-17 10%
1.พงษ์ชาญ ณ ลำปาง 2528 . พฤติกรรมของสัตว์เลี้ยง. โครงการการผลิตสิ่งตีพิมพ์ทางการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.ขอนแก่นการพิมพ์ 98 หน้า
2.วิราช นิมิตสันติวงค์และคณะ.2554 พฤติกรรมของสัตว์เลี้ยง. โครงการตำรานิสิตสัตวแพทย์  คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .มาฉลองคุณ-ซีเอสบีการพิมพ์.กรุงเทพ. 630 หน้า
3.กิจจา อุไรรงค์, ปรียพันธ์ อุดมประเสริฐและวรวิทย์ วัชชวัลดุ. 2536 . การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนนครปฐม 223 หน้า
4. เชื้อ ว่องส่งสาร, สมบูรณ์ สุธีรัตน์. 2526. ประมวลวิชาการสัตวแพทย์. โรงพิมพ์บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ.451 หน้า.
5. ดำรง ปัญญาประทีป. 2528. การสุขาภิบาลและการควบคุมโรคสัตว์. คณะวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาเขตเกษตรพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา. 263 หน้า.
6. ปรารถนา พฤกษะศรี และคณะ. 2530. กฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 177 หน้า.
7. สุรพล พหลภาคย์.2540. คู่มือการตรวจรักษาและป้องกันโรคสุกร. โอเดียนสโตร์, 169 หน้า.
8. สุวิทย์ เทียรทอง. 2527. หลักการเลี้ยงสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 151 หน้า.
 9. สุวิทย์ เทียรทอง. 2530. หลักการเลี้ยงสัตว์ . โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 172 หน้า.
10. อุทิศ มุสิโก. 2528. คู่มือสัตวแพทย์ เล่ม 1. กองควบคุมโรคระบาด กรมปศุสัตว์. 418 หน้า.
1.พงษ์ชาญ ณ ลำปาง 2528 . พฤติกรรมของสัตว์เลี้ยง. โครงการการผลิตสิ่งตีพิมพ์ทางการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.ขอนแก่นการพิมพ์ 98 หน้า
2.วิราช นิมิตสันติวงค์และคณะ.2554 พฤติกรรมของสัตว์เลี้ยง. โครงการตำรานิสิตสัตวแพทย์  คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .มาฉลองคุณ-ซีเอสบีการพิมพ์.กรุงเทพ. 630 หน้า
3.กิจจา อุไรรงค์, ปรียพันธ์ อุดมประเสริฐและวรวิทย์ วัชชวัลดุ. 2536 . การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนนครปฐม 223 หน้า
4. เชื้อ ว่องส่งสาร, สมบูรณ์ สุธีรัตน์. 2526. ประมวลวิชาการสัตวแพทย์. โรงพิมพ์บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ.451 หน้า.
5. ดำรง ปัญญาประทีป. 2528. การสุขาภิบาลและการควบคุมโรคสัตว์. คณะวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาเขตเกษตรพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา. 263 หน้า.
6. ปรารถนา พฤกษะศรี และคณะ. 2530. กฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 177 หน้า.
7. สุรพล พหลภาคย์.2540. คู่มือการตรวจรักษาและป้องกันโรคสุกร. โอเดียนสโตร์, 169 หน้า.
8. สุวิทย์ เทียรทอง. 2527. หลักการเลี้ยงสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 151 หน้า.
 9. สุวิทย์ เทียรทอง. 2530. หลักการเลี้ยงสัตว์ . โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 172 หน้า.
10. อุทิศ มุสิโก. 2528. คู่มือสัตวแพทย์ เล่ม 1. กองควบคุมโรคระบาด กรมปศุสัตว์. 418 หน้า.
เวปไซด์กรมปศุสัตว์  E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

                 3  ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 
2.1 การสังเกตการสอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางพฤติกรรมสัตว์ต่างๆและการใช้ในชั้นเรียน
3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยพฤติกรรมสัตว์ต่างๆที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
  3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางพฤติกรรมสัตว์ต่างๆและการใช้จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส

  3.5 การศึกษาดูงานนอกสถานตามโอกาส
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา