สถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร

Statistics and Experimental Designs for Agro-Industry

1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบลาตินสแควร์
1.2. มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของการจัดแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล แผนการทดลองประยุกต์ทางอุตสาหกรรมเกษตร
1.3. มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ย สหสัมพันธ์ สมการถดถอย การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
1.4. นักศึกษาสามารถวางแผนและวิเคราะห์ผลการทดลอง โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิเคราะห์ผลทางสถิติได้
การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยเชิงทดลอง หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน และเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านสถิติและการวางแผนการทดลอง ไปใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านการทดลอง / วิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และเป็นพื้นฐานการเรียนในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงตัวอย่างอ้างอิง กรณีศึกษา พร้อมทั้งบูรณาการตัวอย่างจากงานวิจัย / โครงการวิจัย ของทีมอาจารย์ผู้สอน เพื่อนำมาใช้ประกอบการเรียนการสอน และสอดคล้องกับแนวโน้มการศึกษาวิจัย รวมถึงการศึกษาตัวอย่างงานวิจัย/ทดลอง ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการวางแผนการทดลอง แผนการทดลองสุ่มสมบูรณ์ การเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย แผนการทดลองสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ แผนการทดลองลาตินสแควร์ แผนการทดลองสปลิทพลอต แผนการทดลองแฟคทอเรียล การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความถดถอย และสหสัมพันธ์ การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร แผนการทดลองประยุกต์ทางอุตสาหกรรมเกษตร หัวข้อและกรณีเกี่ยวกับสถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตรที่ทันสมัย
จัดให้นักศึกได้เข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง (ตามรายละเอียดที่ปรากฏในตารางสอนและตารางปฏิบัติงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา) โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า เมื่อเริ่มต้นการเรียนการสอนในภาคการศึกษา โดยมีกำหนด ดังนี้
3.1 วันอังคาร เวลา 16.00-17.30.น. และ วันพุธ เวลา 15.00 -17.00 น.
สถานที่ : ห้องพักชั้น 3 AI 18-1-304
3.2 โทร : 08-6912-3868 Face Book : Teeravat Teetee
E-mail : teeravat@rmutl.ac.th / teeravat.11tee@gmail.com
ID Line : teetep2516 (ทุกวัน ขึ้นกับสถานการณ์และความจำเป็นของนักศึกษา)
3.3 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ และแจ้งนัดหมาย)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)
™1.มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
™2.แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜3.มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
™4.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
™5.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5. การสอบย่อย (Quiz)
6.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
7. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
™2.มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
™3.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
™4.รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6. การสอบย่อย (Quiz)
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
 
™1.มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
˜2.สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
™3.สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
™4.มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง 
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม 
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน 
5. การสอบย่อย (Quiz) 
6.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค 
7. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1.มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
™2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
™4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง 
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม 
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์ 
4.การนำเสนองาน 
5. การสอบย่อย (Quiz) 
6.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค 
7. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
˜2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
™3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชา นั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
™4. มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
˜5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง 
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม 
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์ 
4.การนำเสนองาน 5
5. การสอบย่อย (Quiz)
6.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
7. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติ การทำแบบฝึกหัด
3. การใช้กรณีศึกษา
4. การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน) และโปรแกรมสำเร็จรูป
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง 
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม 
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์ 
4.การนำเสนองาน 
5. การสอบย่อย (Quiz) 
6.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค 
7. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 4.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 5. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1.. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 4. รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1 BSCFT007 สถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.5 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงาน งานมอบหมาย ตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 4.1-4.4 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5 %
กัลยา วานิชย์บัญชา. 2559. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. กัลยา วานิชย์บัญชา. 2561. การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows. พิมพ์ครั้งที่ 13 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 257 น. กัลยา วานิชย์บัญชา. 2544. การวิเคราะห์หลายตัวแปรหลายตัวด้วย SPSS for Windows. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. คณาจารย์ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์. 2549. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเกษตร. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 466 น. จรัล จันทลักขณา. 2540. สถิติวิธีวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. สำนักพิมพ์ไทยวัฒนา พานิช จำกัด: กรุงเทพฯ. ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ. 2559. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา สถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร. สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ลำปาง ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ. 2562. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา สถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร (ปรับปรุงครั้งที่ 1). สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ลำปาง ปิติพร ฤทธิเรืองเดช. 2561. การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม SPSS. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 366 หน้า วิวัฒน์ หวังเจริญ. 2558. สถิติและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 346 น. สุรพล อุปดิสสกุล. 2536. สถิติการวางแผนการทดลอง เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สหมิตรออฟเซท กรุงเทพฯ. อนุวัตร แจ้งชัด. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชา 054-355 : สถิติและการวางแผนการทดลองทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. อิศรพงษ์  พงษ์ศิริกุล. 2550. การวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับอุตสาหกรรมเกษตร. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 168 น. อนันต์ชัย เขื่อนธรรม. 2539. หลักการวางแผนการทดลอง. ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 350 น. Angle D. And V. Daniel. Design and Analysis of Experiments. Springer, New York. 740 p. Hu, Ruguo. 1999. Food Product Design : A computer-Aided Statistical Approach. Technomic Publishng Co., Inc. Pennsylvania, USA. 225 p. Myers, R. M. and D. C. , Montgomery. Response Surface Methodology: Process and Product Optimization Using Designed Experiments. John Wiley & Sons, Inc. New York, USA. 700 p.
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ปัญหาพิเศษ วิทยานิพนธ์
เอกสารเกี่ยวกับสถิติวิจัยและการวางแผนการทดลองทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร
เนื้อหาภาคทฤษฏี และแบบฝึกปฏิบัติการคำนวณ คู่มือการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ตัวอย่างในงานวางแผนการทดลอง ที่สามารถสืบค้นได้จาก อินเทอร์เนต
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัย

 
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1. มีการดำเนินการจัดทำบันทึกการสอน พร้อมทั้งข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเรียนการสอน และการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ตามความเหมาะสม)
3.2. จากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายละเอียดการประเมินผลสัมฤทธิ์ทั้งงานรายกลุ่ม รายบุคคล และกรณีศึกษา ตามสถานการณ์ ทั้งการฝึกปฏิบัติและการทำงานมอบหมาย รวมทั้งความรู้ความเข้าใจ ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ และสาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ / กิจกรรมที่ใช้ในการทดสอบ รวมทั้งความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
 
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา การประเมินตนเองของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอน เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป