ฟิสิกส์พื้นฐาน 2

Fundamental Physics 2

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในกฎและทฤษฎีทางหลักฟิสิกส์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า  แม่เหล็ก วงจรไฟฟ้า และฟิสิกส์ยุคใหม่ที่ประกอบด้วยความรู้เบื้องต้นของฟิสิกส์อะตอม ฟิสิกส์นิวเคลียร์ และฟิสิกส์ของแข็ง สามารถแก้ปัญหาโจทย์ทางฟิสิกส์ รวมถึงเพื่อเป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้ในวิชาแขนงอื่นๆที่เกี่ยวข้องได้
1. เพื่อปรับปรุงเนื้อหาและสื่อการเรียนการสอนให้ทันสมัย น่าสนใจ และสอดคล้องกับเทคโนโลยีในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลง
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในเรื่องหลักการหรือแนวคิดในเรื่องหลักของฟิสิกส์เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในงานทางวิศวกรรม
ศึกษาเกี่ยวกับแรงไฟฟ้า สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า และสารไดอิเล็กทริก ไฟฟ้ากระแสตรง สนามแม่เหล็ก แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สมบัติและปรากฏการณ์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ฟิสิกส์ยุคใหม่และทฤษฎีควอนตัมเบื้องต้น แบบจำลองอะตอม ส่วนประกอบนิวเคลียส และปฏิกิริยานิวเคลียร์
- อาจารย์ประจำรายวิชาแจ้งเวลาให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาในคาบเรียนแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (ตามความต้องการของนักศึกษา)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอนต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1.3.1 การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.2 ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้การบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning) โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 งานที่ได้มอบหมาย
3.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning) มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 สอบย่อย
3.3.2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่างๆ
3.3.3 การนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
3.3.4.การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ปาก
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม
4.2.2 ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
4.3.1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
4.3.2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
5.1.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
5.1.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าและนำเสนอ
5.3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
5.3.2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
5.3.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
5.3.4 จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC107 ฟิสิกส์พื้นฐาน 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ สอบกลางภาคและสอบปลายภาค 9, 18 60%
2 ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม ตอบคำถาม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- John D. Cutnell & Kenneth W. Physics., Introduction to Physics 9th Edition International Student Version Edition, Wiley, 2012.
- หนังสือฟิสิกส์ระดับมหาวิทยาลัยทั่วไป
 
- ยัง, ฮิวจ์ ดี. ฟิสิกส์ ระดับอุดมศึกษา เล่ม 2 : อุณหพลศาสตร์ คลื่น / สวนศาสตร์ แม่เหล็กไฟฟ้า = University physics with modern physics / Hugh D. Young,Roger A. Freedman ; ปิยพงษ์ สิทธิคง แปลและเรียบเรียง. กรุงเทพฯ: ท้อป, 2559
- ยัง, ฮิวจ์ ดี. ฟิสิกส์ ระดับอุดมศึกษา เล่ม 3 : ทัศนศาสตร์และฟิสิกส์ยุคใหม่ = University physics with modern physics / Hugh D. Young and Roger A.Freedman ; ปิยพงษ์ สิทธิคง ; แปลและเรียบเรียง. กรุงเทพฯ: ท้อป, 2559
- การจัดกิจกรรมการสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
- การใช้แบบประเมินผู้สอน ซึ่งรวมถึงวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา
- ผลการเรียนของนักศึกษาและผลสอบ
- การสังเกตการณ์ของผู้ร่วมทีมการสอน
- พัฒนาเอกสารประกอบการสอนสำหรับวิชานี้
- ยกตัวอย่างกรณีศึกษา สื่อการเรียนการสอน และฝึกวิเคราะห์จากกรณีศึกษาจริง
- ให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนากระบวนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยอาจารย์ท่านอื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตรตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบรายงานและวิธีการให้คะแนน
- ประเมินรายวิชาตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4