เขียนแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป

Computer Product Drafting

รู้หลักและเกณฑ์ตามมาตรฐานสากลในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  เข้าใจการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ตามมาตรฐานสากลในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ตามหลักและเกณฑ์มาตรฐานสากลได้ถูกต้อง มีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน เห็นคุณค่าของการ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน
ให้นักศึกษารู้วิธีการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  ให้นักศึกษามีทักษะในการเขียนแบบรูปร่างและรูปทรงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การเขียนแบบโครงสร้างสำหรับงานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การเขียนภาพคลี่ การเขียนแบบเพื่อการผลิต การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน ปฏิบัติงานเขียนแบบและใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเขียนแบบ
แล้วแต่ปัญหารายบุคคล เฉลี่ย 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม                                 2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น                 3. มีจิตอาสา จิตส านึกสาธารณะ
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง  2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ                                3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม                                 4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ  ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา 
1. การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้  2. การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง                                 2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรม ศาสตร์อย่างเป็นระบบ                                3. มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและ วัฒนธรรม                                 4. มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพ  ด้านศิลปกรรมศาสตรในสาขาวิชาที่ศึกษา
1. ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษาจะต้องมีความรู้ในการนำหลักการออกแบบมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้อง  2. วิธีการสอน สอนโดยการบรรยายประกอบสื่อการสอนประกอบตัวอย่าง และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานในและนอกชั้นเรียน เพื่อเป็นการเพิ่มทักษะความเข้าใจและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้  3. เผยแพร่เอกสารการสอน มอบหมายงาน และส่งงานผ่านทาง Google Classroom  4. ให้คำปรึกษานอกชั้นเรียนผ่าน กลุ่มใน Facebook
1. การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้  2. การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมินผลจากงานฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน 30% 3. ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%  และจากการสอบ 30%   จิตพิสัย 10%
1. สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่    หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน                                   2. สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง   สร้างสรรค์                                 3. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ  และวิชาชีพได้                                4. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 
- ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา การประยุกต์ใช้คำสั่งในการเขียนแบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์ได้
1. จากงานที่ฝึกปฏิบัติในและนอกชั้นเรียน และจากการทดสอบในชั้นเรียน และการสอบกลางภาค และปลายภาคเรียน 2. ฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน 30%   และจากการสอบ 30%   จิตพิสัย 10%
1. มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ทีดี                                    2. มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                  3. สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
1.ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่น ๆ และมีความซื่อสัตย์สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่น  2. ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงาน   โดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้  3. ประเมินพฤติกรรมการเรียนด้วยคะแนนจิตพิสัย 10%
1. การตรวจสอบพฤติกรรมการเข้าเรียน และการส่งงานได้ตรงตามขอบเขต และเวลาที่กำหนดไว้  2. การประเมินผลการงานทำงาน โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการประเมิน
1. สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                    2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                  3. มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1. ฝึกการค้นคว้าข้อมูลทางเทคโนโลยีสารสนเทศ IT 2. ฝึกทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร การส่งข้อมูลทาง E-MAIL.
1. ตรวจงานที่มอบหมายรายสัปดาห์ 2. ตรวจสอบโครงงานออกแบบฯที่มอบหมาย
1. มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ                                    2. มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                                  3. มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- นักศึกษาจะมีทักษะด้านการเขียนแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตามหลักการเขียนแบบอย่างมีระบบ และมีคุณภาพ
1. ตรวจการเสนอโครงการย่อย 2. ตรวจงานที่มอบหมายรายสัปดาห์ 3. ตรวจสอบโครงงานออกแบบฯที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 2 3 4 5 6
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3 6.1 6.2 6.3
1 43023245 เขียนแบบผลิตภัณฑ์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-6 ปฏิบัติงานรายสัปดาห์ 1-8, 10-16 70%
2 1-6 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 30%
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา
- คู่มือการเขียนแบบ
- คู่มือการใช้งาน Sketch Up
- คู่มือการใช้งาน Auto Cad
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
- ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทดสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4