ศิลปนิพนธ์ออกแบบสื่อสาร

Communication Design Thesis

สามารถออกแบบผลงานตามหัวข้อที่ได้นำเสนอและผ่านการอนุมัติจากกรรมการ ศิลปนิพนธ์ โดยศึกษาค้นคว้าทดลองและพัฒนางานออกแบบในหัวข้อที่เลือก ศึกษาการแก้ปัญหาและดำเนินการออกแบบจนกระทั่งเสร็จสมบูรณ์ ภายใต้ คำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา สามารถนำเสนอผลงานและรับการประเมินผลจาก คณะกรรมการศิลปนิพนธ์ และเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชน
-เพื่อปรับปรุงกระบวนการติดตามการทำงานของนักศึกษา ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
ปฏิบัติออกแบบผลงานตามหัวข้อที่ได้นาเสนอและผ่านการอนุมัติจากกรรมการ ศิลปนิพนธ์ โดยศึกษาค้นคว้าทดลองและพัฒนางานออกแบบในหัวข้อที่เลือก ศึกษาการแก้ปัญหาและดาเนินการออกแบบจนกระทั่งเสร็จสมบูรณ์ ภายใต้ คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา นาเสนอผลงานและรับการประเมินผลจาก คณะกรรมการศิลปนิพนธ์ และเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณชน
นักศึกษาพบอาจารย์ประจำวิชาตามนัดหมาย  และพบอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ตารางเวลที่อาจารย์นัดหมาย หรือตามช่อ่งทางออนไลน์ที่เหมาะสมแต่ละท่าน
-ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
-มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
-มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
- ปฏิบัติงาน
- การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน
เอกสารการเข้าพบที่ปรึกษา
- การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย 
- ประเมินจากผลงานปฏิบัติ 
- เอกสารบันทึกการเข้าพบที่ปรึกษา
-มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
-มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- บรรยาย 
- การศึกษาค้นคว้า
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล 
- ประเมินจากผลงาน
-สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
-มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
-บรรยาย 
-ตัวอย่าง 
-สาธิตการวิเคราะห์ผล
 
-ผลการวิเคราะห์ในเอกสารโครงงาน บทที่ 2 บทที่ 4  และบทที่ 5
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานกลุ่ม วางแผนการจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์ออกแบบสื่อสาร
-บรรยาย แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น
-ประชุมกลุ่มใหญ่
-ประชุมกล่อมย่อย
-นำเสนอแผนงาน
 
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 
-ประเมินจากแผนงงาน
ประเมินจากผลงาน
ประเมินจากสื่อ
-สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สาหรับงานศิลปกรรม
-การปฏิบัตงานศิลปนิพนธ์
- รายงานศิลปนิพนธ์ บทที่ 4-5
- นำเสนอข้อมูล  รายงาน 
-สื่อนำเสนอศิลปนิพนธ์ 
-สื่อสำหรับประชาสัมพันธ์นิทรรศการศิลปนิพนธ์
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เล่มศิลปนิพนธ์) 
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงานนิทรรศการ) 
- ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ / โปสเตอร์) 
 
-มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
-มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- ปฏิบัติ ศึกษาค้นคว้า การจัดทำศิลปนิพนธ์ทั้งกระบวนการ
- การให้คำปรึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
-ผลงานการออกแบบศิลปนิพนธ์
-รายงานศิลปนิพนธ์
-การจัดนิทรรศการโครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2ทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 33 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 2สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 2มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAACD122 ศิลปนิพนธ์ออกแบบสื่อสาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.3, 4.2 5.1-5.3 การเข้าเรียน การแสดงพฤติกรรมการเรียน การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิงข้อมูล การประชุม นิทรรศการโครงงาน ประเมินรายกลุ่มและรายบุคคล และการประเมินความก้าวหน้าโดยอาจารย์ที่ปรึกษา ตลอดภาคการศึกษา 15
2 2.3-2.4, 3.2, 3.4, 5.1-5.3, รายงานศิลปนิพนธ์บทที่1-5 (ส่งเล่มครั้งสุดท้าย ตามรูปแบบการเขียน) ตลอดภาคการศึกษา และการส่งรายงานครั้งสุดท้าย 20
4 6.2-6.3 การสอบปกปอ้งศิลปนิพนธ์ ผลงานการออกแบบศิลปนิพนธ์/แบบจำลองผลงาน รายงานศิลปนิพนธ์ 10-15 65
คู่มือจัดทำรายงานศิลปนิพนธ์ออกแบบสื่อสาร  พ.ศ.2664
กำหนดกิจกรรมต่างๆ
-
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้ 
1.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม  การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 
1.2 ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้  ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการดังต่อไปนี้ 
2.1 ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ ๑ 
2.2 สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้  ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม  การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 
2.3 ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้  ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
หลักสูตรออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้ 
3.1 ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน  
3.2 ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้ 
ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
หลักสูตรออกแบบสื่อสาร มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้ 
การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร
นักศึกษาประเมินตัวเอง
ประเมินจากผลงานออกแบบศิลปนิพนธ์
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล