ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันออก

History of Eastern Architecture

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ รูปแบบงานสถาปัตยกรรมตะวันออกในประวัติศาสตร์ เข้าใจเหตุผลที่เป็นปัจจัยในการก่อรูปสถาปัตยกรรม เข้าใจพัฒนาการของงานสถาปัตยกรรมจากอดีต-ปัจจุบัน ทั้งประโยชน์ใช้สอย รูปทรง วัสดุก่อสร้าง โครงสร้าง รวมทั้งลักษณะเฉพาะทางสถาปัตยกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานและพัฒนาระบบความคิดไปสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างมีเหตุผล และเห็นคุณค่าของงานสถาปัตยกรรม
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้ครอบคลุม ด้านต่างๆ ดังนี้ 2.1 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม (3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.2 ด้านความรู้ (1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา (3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3 ด้านทักษะทางปัญญา (1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบสร้างระบบความคิดและการนำไปใช้ 2.4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - 2.5 ด้านทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ศึกษางานสถาปัตยกรรมตะวันออกในสมัยประวัติศาสตร์ ปัจจัยและบริบทที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรม ประโยชน์ใช้สอย รูปทรง วัสดุก่อสร้าง โครงสร้าง รูปแบบและลักษณะเฉพาะทางสถาปัตยกรรม The historical study of eastern architecture: The influence of historical context on the creation of architectural work in term of function, form, material, structure, styles and architectural feature.
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
อบรมนักศึกษาด้านวินัย ขยัน อดทน เช็คชื่อทุกครั้ง มีกติกาการเข้าชั้นเรียน มอบหมายงานที่ศึกษาค้นคว้า โดยกำหนดเวลาในแต่ละขั้นตอนชัดเจนให้นักศึกษามีความรับผิดชอบและทำงานตามกำหนดเวลา
ประเมินการพฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียน การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน การทำงานและส่งงานตามกำหนดเวลา
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา (2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา (3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 สอนตามเนื้อหาที่กำหนดในแผนการสอน สร้างความเข้าใจด้วยการอภิปรายประเด็นต่างๆร่วมกัน 2.2.2 มอบหมายให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลแหล่งสถาปัตยกรรมตะวันตกเพิ่ม 2.2.3 ให้นักศึกษาร่วมอภิปรายเพื่อบูรณาการความรู้ด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเข้ากับความรู้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม
2.3.1 ประเมินผลจากข้อสอบวัดความรู้ในทฤษฎีและหลักการ 2.3.2 ประเมินผลจากข้อสอบวัดความรู้ในข้อมูลแหล่งสถาปัตยกรรมตะวันตกที่ศึกษาเพิ่มจากเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.3.2 ประเมินผลจากข้อสอบวัดความเข้าใจในการบูรณาการความรู้ด้านประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเข้ากับความรู้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม
(1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ (2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ สร้างระบบความคิดและการนำไปใช้
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกทักษะการประยุกต์ความรู้ฯ เพื่อนำไปใช้ในงานออกแบบสถาปัตยกรรม 3.2.2 ให้นักศึกษาฝึกการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและมีเหตุผล
3.3.1 ประเมินผลจากข้อสอบวัดความเข้าใจ ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.3.2 ประเมินผลจากข้อสอบวัดความเข้าใจใน ผลงานที่นำเสนอมีความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
-
-
-
(2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าสถาปัตยกรรมในสมัยประวัติศาสตร์ด้วยตนเองจากเว็บไซต์ และนำเสนอในกลุ่ม fb
ประเมินทักษะการสืบค้นและการนำเสนองานผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BARAT202 ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันออก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงาน การเข้าสอบ ตรงตามเวลา 1-18 10%
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 10,18 30% 30%
3 ทักษะทางปัญญา งานที่มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้า 8,9,12,13 20%
4 - - - -
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จากการสืบค้นและแสดงผลงานที่มอบหมายให้ศึกษาค้นคว้า (ร่วมกับข้อ 3) 8,9,12,13 10%
6 ทักษะพิสัย - - -
เกรียงไกร เกิดศิริ, พุกาม : การก่อรูปของสถาปัตยกรรมจากก้อนอิฐแห่งศรัทธา, กรุงเทพฯ : อุษาคเนย์, 2551. ชัยยศ อิษฎ์วรพันธ์, ธรรมชาติ ที่ว่างและสถานที่, กรุงเทพฯ : โฟคัลอิมเมจพริ้นติ้งกรุ๊ป, 2543 ชัยยศ อิษฎ์วนพันธุ์, หิมะ พระจันทร์ ดอกไม้:สวนญี่ปุ่น, กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์สารคดีภาพ, 2557. รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง, ปราสาทขอมในดินแดนไทย : ความเป็นมาและข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ, กรุงเทพฯ : มติชน, 2548. สมชาติ จึงสิริอารักษ์, สถาปัตยกรรมตะวันตกในสยามสมัยรัชกาลที่ 4 - พ.ศ.2480, กรุงเทพฯ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2553.
วิิมลสิทธิ์ หรยางกูร และคณะ. พัฒนาการแนวความคิดและรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม อดีต ปัจจุบัน และอนาคต. กรุงเทพฯ: สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์, 2536.
Milton Osborne, Southeast Asia: An Introductory History. Crows Nest : Allen & Unwin, 2016. Yanxin, Cai and Bingjie, Lu, Chinese Architecture Palaces, Gardens, Temples, and Dwellings. Beijing :  China Intercontinental Press, 2006. Henri Stierlin, Hindu India, Singapore: Taschen, 2002. John Miksic, Borobudur, England: Bamboo Publishing Ltd, 1990. Michael Freeman & Ceaude Jacques, Ancient Angkor, Amerin Printing and Publishing (Public) Co.Ltd, 2006. Mario Bussagli, Oriental Architecture 2, (History of World Architecture) , Italy 1989.
mASEANa Project,The Report of mASEANa Project 2017 4th & 5th International Conference, modern living in Southeast Asia, 2017.
-
 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น htpp://th.wigipedia.org htpp://th.youtube Google Art & Culture Pinterest.com Archnet.org
สอบถามนักศึกษาถึงจุดอ่อน จุดแข็งของรายวิชาและสิ่งที่ต้องการให้ปรับปรุงขณะสอน แบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบประเมินการสอน 2.2 ข้อมูลจากมคอ.5 ของปีการศึกษาที่ผ่านมา
3.1 นำผลการประเมินรายวิชา และการประเมินการสอนมาปรับปรุงในจุดอ่อน 3.2 แก้ปัญหาข้อจำกัดด้านทรัพยากรที่มีเพื่อให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากขึ้น
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนของนักศึกษา 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงแผนการสอนทุกปี 5.2 เสนอให้มีการปรับปรุงรายวิชาตามรอบการปรับปรุงหลักสูตรทุก 5 ปี