ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ

Local Wisdom in Fashion, Textile, and Jewelry

1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติคามเป็นมาและภูมิปัญญารวมถึง ประเภท ลักษณะ และคุณสมบัติ ของงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ 1.2 มีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
เพื่อปรับเนื้อหา และกระบวนการให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้ม ด้านต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับบริบทองค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับที่สืบทอดเชื่อมโยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และการวิเคราะห์ข้อมูลอันเป็นผลมาจากค่านิยม วัฒนธรรม ประเพณี สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เพื่อหาแนวทางสืบสานคุณค่าของงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ และพัฒนาตามบริบทสังคม
6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. บรรยายสอดแทรกเรื่องการมีทัศนคติที่ดี และยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้น (ระบบออนไลน์) 2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็น
1.3.1  การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียน
2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ไขปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างมีระบบ 2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา (ระบบออนไลน์) 2.2.2 ให้ติดตามค้นหาข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอผลการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ระบบออนไลน์)
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และการนำเสนอรายงาน(ระบบออนไลน์)
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.1.3 สามารถบูรณาการความร้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.2.1 มอบหมายรายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยใช้ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ(ระบบออนไลน์) 3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน 3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่ม(ระบบออนไลน์) 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน 3.3.2 ประเมินผลจากการทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม (ระบบออนไลน์) 4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มโดยศึกษางานนอกสถานที่และการจัดองค์กรภายในกลุ่ม (ระบบออนไลน์) 4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม (ระบบออนไลน์)
4.3.1 ประเมินตนเอง และจากการรายงานในระบบออนไลน์ 4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมระบบออนไลน์และผลงานของนักศึกษา 4.3.3 พิจารณาจากผลการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวกับการนำความรู้ไปช่วยเหลือสังคมในระบบออนไลน์
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นำเสนองานในระบบออนไลน์โดยใช้สื่อที่เหมาะสม 5.2.2 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการหาข้อมูล การอ้างอิง อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลการนำเสนอโดยเลือกและใช้สื่ออย่างถูกต้องเหมาะสม 5.3.2 ประเมินจากผลการสืบค้นและอ้างอิงโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม .ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAATJ155 ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-16 - การเข้าชั้นเรียน - ความรับผิดชอบ - การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1 1-16 คุณภาพผลงานจากการปฏิบัติ งานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9 17 15 % 15 %
[กนกพร ฉิมพลี, 2555] กนกพร ฉิมพลีรูปแบบการจัดการความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้าน หัตถกรรมเครื่ องสาน : กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน จังหวัด นครราชสีมา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคมและการ จดัการสิ่งแวดลอ้ ม บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์2555
[กมลทิน พรมประไพและคณะ, 2545] กมลทิน พรมประไพและคณะ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการ ทอผ้าพื้นเมือง : กรณีศึกษา อ าเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์ การศึกษาการค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร 2545
[บดิทร์ วิจารณ์, 2548] บดิทร์ วิจารณ์ การจัดการความรู้ สู่ ปัญญาปฏิบัติ กรุงเทพมหานคร เอ็กซ์เปอร์เน็ท 2548
[บรรชร กล้าหาญ, 2538] บรรชร กล้าหาญ การเปลี่ยนแปลงกระบวนการถ่ายทอดความรู้ ด้านการ ผลิตของหัตถกรรมพื้นบ้าน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอกระบบ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัเชียงใหม่ 2538
[สามารถ จันทร์สูรย์, 2536] สามารถ จันทร์สูรย์ ภูมิปัญญาชาวบ้านกับการพัฒนาชนบท เล่มที่ 1กรุงเทพมหานคร: อมัรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ฟ 2536
เว็บไซต์ และนิตยสารเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับ เครื่องประดับ สิ่งทอ และแฟชั่น การออกแบบโฆษณา การออกแบบกราฟิก การออกแบบภาพประกอบเรื่อง
เว็บไซต์ และนิตยสารเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับ เครื่องประดับ สิ่งทอ และแฟชั่น การออกแบบโฆษณา การออกแบบกราฟิก การออกแบบภาพประกอบเรื่อง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนผ่าน MS TEAMS 1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1  หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  คือการจัดสัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์