ภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการ

English for Hospitality

เพื่อศึกษาคำศัพท์ สำนวน รูปแบบภาษาสำหรับที่ใช้สื่อสารกับแขก ฝึกปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริการ    พัฒนาทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือ     ฝึกสนทนาโต้ตอบอย่างรวดเร็วและคล่องแคล่ว โดยใช้สำนวนและโครงสร้างประโยคที่จำเป็นในการสนทนาสำหรับงานบริการ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านคำศัพท์ สำนวน รูปแบบภาษาสำหรับที่ใช้สื่อสารกับแขก ฝึกปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริการ    พัฒนาทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือ     ฝึกสนทนาโต้ตอบอย่างรวดเร็วและคล่องแคล่ว โดยใช้สำนวนและโครงสร้างประโยคที่จำเป็นในการสนทนาสำหรับงานบริการ
คำศัพท์ สำนวน รูปแบบภาษาสำหรับใช้สื่อสารกับแขก ฝึกปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริการ เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือ ฝึกสนทนาโต้ตอบอย่างรวดเร็วและคล่องแคล่ว โดยฝึกสำนวนและโครงสร้างประโยคที่จำเป็นในการสนทนาสำหรับงานบริการ
A study of vocabulary, idioms and patterns of English; practice in various situations in hospitality in order to develop communication skills in English. Practice on English conversation by using idioms and patterns for service in hospitality industry.
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  กำหนดเวลาในการให้คำปรึกษา
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ
1.1.1 มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่  ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ  1.1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงานและ  การปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ  1.1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนา มี  ภาวะผู้นำ และเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น  1.1.4 มีวินัยในการทำงาน และปฏิบัติตามกฏระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.1 กำหนดให้มีวิชาจรรยาบรรณโดยเฉพาะและทำรายงาน  1.2.2 สอนคุณธรรม จริยธรรม สอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ  1.2.3 สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน  1.2.4 สอนโดยการอ้างอิงประมวลกฎหมาย (Ethic Code) ที่เกี่ยวกับจรรยาบรรณ  1.2.5 การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์หรือพระในศาสนาต่าง ๆ  1.2.6 การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
1.3.1 ผลการสอบในวิชาคุณธรรม จริยธรรมโดยตรง จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย  1.3.2 สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน  1.3.3 ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน  1.3.4 กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมให้พูดแสดงออก  1.3.5 ผลการประเมินจากการฝึกงานสหกิจโดยองค์กรที่ผู้เรียนเข้าฝึกงาน
2.1.1 มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรมทั้งภาคทฤษฏีและ  ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก  2.1.2 มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง  2.1.3 มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์กร  ความรู้ในงานอาชีพ
2.2.1 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ  2.2.2 มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้า และทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม  2.2.3 ทำรายงานเปรียบเทียบความรู้จากห้องเรียนกับการทำงานจริง ภาคปฏิบัติ  2.2.4 อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง  2.2.5 การศึกษานอกสถานที่และทำรายงาน  2.2.6 ฝึกปฏิบัติร่วมกับสถานประกอบการ  2.2.7 ฝึกปฏิบัตินอกสถานที่โดยร่วมกับมืออาชีพ (professional) ในวิชานั้นๆ
2.3.1 ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติ โดยการสอบย่อย และให้คะแนน  2.3.2 ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค  2.3.3 ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน  2.3.4 ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
3.1.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และความ  ขัดแย้ง รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม ทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก  3.1.2 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปใช้ประโยชน์ในการฝึก  ประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม  3.1.3 มีสามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ และจากศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมาเพื่อ  พัฒนาทักษะการทำงานให้เกิดประสิทธิผล
3.2.1 ฝึกปฏิบัติและจัดทำโครงการเกี่ยวกับธุรกิจนำเที่ยว ธุรกิจโรงแรม ตลอดจนการวิจัย  3.2.2 การอภิปรายเป็นกลุ่ม  3.2.3 การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า หรืองานเกี่ยวกับการพัฒนา  3.2.4 การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการในสายอาชีพ  3.2.5 กำหนดให้มีรายวิชาที่ต้องใช้ทักษะการคำนวณ เช่น การจัดการการบริการการควบคุม  ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม
3.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ  3.3.2 การสอบข้อเขียน  3.3.3 การเขียนรายงาน
4.1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และ  บทบาทของตน ในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหาได้  4.1.2 มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่องและ  ตรงตามมาตรฐานสากล  4.1.3 มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้ร่วมวิชาชีพทุกระดับในสภาพสังคมการทำงานที่  หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ  4.2.2 มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม  4.2.3 สอนโดยใช้กรณีศึกษา
4.3.1 ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน  4.3.2 ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)  4.3.3 ใช้ประวัติสะสมงาน (portfolio) ในการประเมิน  4.3.4 สังเกตพฤติกรรมในการเรียน  4.3.5 ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา
5.1.1 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน  การเขียน และการสรุปประเด็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ  5.1.2 มีความสามารถในการสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และ  วัฒนธรรม  5.1.3 มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบ  ของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ทดสอบระดับความสามารถทางภาษาในการติดต่อกับคนไทยและต่างชาติผ่านการ  สอบปฏิบัติและสอบวัดระดับความรู้ภาษาอังกฤษ  5.2.2 ทดลองให้ใช้อุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน  5.2.3 นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าและอภิปรายด้วยตนเองหรือแบบกลุ่มในห้องเรียน  5.2.4 บูรณาการการใช้โปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์ หรือสื่อต่าง ๆ  5.2.5 ทดสอบกระบวนการแก้ปัญหาหรือกรณีศึกษาที่จำเป็นต้องใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์  หรือสถิติในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
5.3.1 ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ  5.3.2 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน  5.3.3 ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์  5.3.4 ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
6.1.1 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานขั้นพื้นฐานของบุคลากรวิชาชีพด้านการท่องเที่ยว  และการบริการ  6.1.2 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามตำแหน่งงานของบุคลากรวิชาชีพด้านการ  ท่องเที่ยวและการบริการ  6.1.3 มีทักษะและสามารถปฏิบัติงานตามสมรรถนะวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการ  บริการที่มีมาตรฐานและเป็นสากล
6.2.1 ทดสอบทักษะทางวิชาชีพด้านการท่องเที่ยวและการบริการโดยการสอบปฏิบัติ  6.2.2 จัดสอบตามสมรรถนะวิชาชีพทั้งภายในและศูนย์ทดสอบภายนอก  6.2.3 ทดสอบทางด้านภาษาต่างประเทศเพื่อการทำงานที่มีมาตรฐานสากล
6.3.1 ประเมินผลจากความถูกต้องตามมาตรฐาน  6.3.2 ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนและสอบปฏิบัติ  6.3.3 ประเมินผลจากผลสอบภาษาต่างประเทศที่มีมาตรฐาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BOATH145 ภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,3.2 การสอบกลางภาค 9 25%
2 2.1,2.2,3.2 การสอบปลายภาค 17 25%
3 2.1,2.2,3.2 การทดสอบย่อย 8, 16 20%
4 4.1, 5.2, 6.1 การส่งงานตามที่มอบหมาย (assignments) การศึกษาค้นคว้าและการนำเสนอ (presentation) การเข้าร่วมกิจกรรมและการฝึกปฏิบัติ (class participation) การทำงานกลุ่ม (group work) การแสดงบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง (Role-Play) ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 1.2, 4.1 จิตพิสัย (class attendance) การมีความส่วนร่วมในชั้นเรียน ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Trish Stott & Rod Revell. 2014. English for the hotel and catering industry. Oxford University Press 
Kanitta Utawanit. 2013. Communicative English for Hotel Personnel. Thammasat University Press
        Anne Baude, Montserrat Iglesias and Anna Inesta. Ready to Order. Longman Pearson Education Limited 2002
     - https://www.englishformyjob.com/index.html
     - http://www.gillesferiel.com/pages/tools/
     - https://www.english4hotels.com/
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้

นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง  การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1 สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
2.2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
2.3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจเนื้อหา
2.4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
การปรับปรุงการสอนในรายวิชา กระทำโดย
3.1   ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
3.2   สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
3.3   สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อๆ ไป
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและรายงานโดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้าหรือไม่มี จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบาทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้นหรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
 การวางแผนการปรับปรุงการสอนและเนื้อหาวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
5.2   มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ๆ และตามความน่าสนใจ
5.3   ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5.4  ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี