ประวัติและแบบอย่างศิลปะตะวันออก

History and Style of Eastern Art

1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับประวัติ แนวความคิด รูปแบบลักษณะ และวิธีการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตะวันออก
2. สามารถสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล พร้อมนำเสนอผลงานโดยอภิปรายแบบกลุ่ม อย่างมีส่วนร่วม
3. เห็นคุณค่าของผลงานศิลปะตะวันออก และสามารถนำเนื้อหาที่ได้ศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะต่อไป
เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนการสอน ให้เข้ากับสภาวะสังคมในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของศิลปะตะวันออกด้วยการเรียนรู้เกี่ยวกับรูปแบบ เนื้อหา วิธีการในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตะวันออก     
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)  แก้ไข
1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 
1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม   1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
การขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา   และปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย การแสดงความคิดเห็นของตนเอง และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คะแนนจิตพิสัย คะแนนความสนใจ ความกระตือรือร้น และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
2.ความรู้ที่ต้องได้รับ 
2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา          แก้ไข
ศึกษาค้นคว้าผลงานศิลปะในประวัติศาสตร์ตะวันออกในแขนงต่างๆ เช้่น สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม     แก้ไข
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3. ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา 
3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้  แก้ไข
 การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล และนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะส่วนตน
การให้คะแนนจากผลงานปฏิบัติ จากการนำเอาความรู้ัที่เรียนไปประยุกต์กับการสร้างสรรค์งานศิลปะ  แก้ไข
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ด 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แก้ไข
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานโดยมีการแบ่งหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม  การเคารพสิทธิ การแสดงความคิดเห็น และการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม การส่งงานตามเวลาที่กำหนด และการนำเสนองาน
 
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 
5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  แก้ไข
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอธิบาย  การนำเสนอ
การค้นคว้าการทำรายงาน และการสืบค้นข้อมูลที่นอกเหนือจากเนื้อหาที่เรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA104 ประวัติและแบบอย่างศิลปะตะวันออก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คะแนนด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา ความสนใจในการเรียน 1-18 10 %
2 คะแนนด้านความรู้ แบบทดสอบท้ายบทเรียน 1 - 16 50 %
3 คะแนนด้านทักษะทางปัญญา การมอบหมายงานตามใบงานที่สั่ง 5, 10, 13, 16 30 %
4 คะแนนด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ การทำรายงานกลุ่ม 6, 11, 14 6 %
5 คะแนนด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การค้นคว้าข้อมูลในการทำงานและการนำเสนอ ตามใบงานที่สั่ง 5, 10, 13, 16 4 %
กำจร สุนพงษ์ศรี. (2553). ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2558). ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. นนทบุรี: มิเซียมเพรส.
ปัญญา เทพสิงห์. (2548). ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภัทรดิส ดิศกุล, มจ. (2534). ศิลปะอินเดีย. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
สุภัทรดิส ดิศกุล, มจ. (2538). ประวัติศาสตร์ศิลปะประเทศใกล้เคียง. กรุงเทพฯ: มติชน.
Basil Gray. (1981). The art of India. Britain: Phaidon press limited 1981.
David Bellingham, Clio Whittaker, John Grant. (1996). Myths and legends. London: Quantum books Ltd.
Gilles Beguin. (2009). Buddhist art historical and cultural journey. Bangkok: River books Co.Ltd. 
Piriya Krairiksh. (2012). The root of Thai art. Bangkok: River book.
 เนื้อหาประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันออก ที่ใช้สอน โปรแกรม Power Point
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับศิลปะตะวันออก,Eastern Art
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอน แบบประเมินรายวิชาในรูปแบบของใบประเมิน หรือการประเมินทางอินเทอร์เนต การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน สังเกตการณ์จากพฤติกรรมผู้ร่วมชั้นเรียน
1.   การสังเกตการณ์สอน  2.   ผลการเรียนของนักศึกษา  3.   การทบทวนบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหาทั้งหมด
4. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการเรียนรู้ในการพัฒนานักศึกษา
- การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนและผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การประเมินความคิดเห็นของนักศึกษา
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลรายวิชา โดยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่อง
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย