เขียนแบบวิศวกรรม

Engineering Drawing

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานในงานเขียนแบบ การเขียนภาพฉาย การเขียนภาพไอโซเมตริก การเขียนภาพด้วยมือ  การเขียนภาพแผ่นคลี่ การเขียนภาพตัด การกำหนดขนาดและลักษณะของงาน การอ่านแบบ การเขียนภาพประกอบ  การเขียนภาพแยกชิ้น  มาตรฐานและสัญลักษณ์แบบในงานวิศวกรรม  การเขียนไดอะแกรม  สัญลักษณ์
เพื่อให้ผู้เรียนได้รู้จักหลักมูลของการเขียนแบบ ซึ่งเป็นหนึ่งในวิชาชีพพื้นฐาน โดย
เนื้อหาบางส่วนปรับเปลี่ยนตามวิทยาการ และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง ที่เน้นผลการเรียนรู้ทั้ง ห้าด้านซึ่งผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในวิชาอื่น ๆ  และบรรลุวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objective) ดังนี้
๑) พุทธิพิสัย คือ สามารถจำ เข้าใจ รู้จักนำไปใช้ รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า
๒) จิตพิสัย คือ สามารถรับรู้ หรือเอาใจใส่ ตอบสนอง เห็นคุณค่า จัดระบบ หรือสร้างความเชื่อ
    สร้างนิสัย หรือค่านิยม
๓) ทักษะพิสัย คือ สามารถปฏิบัติ หรือนำความรู้ไปปฏิบัติจนชำนาญ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับพื้นฐานในงานเขียนแบบ การเขียนภาพฉาย การเขียนภาพไอโซเมตริก การเขียนภาพด้วยมือ  การเขียนภาพแผ่นคลี่ การเขียนภาพตัด การกำหนดขนาดและลักษณะของงาน การอ่านแบบ การเขียนภาพประกอบ  การเขียนภาพแยกชิ้น  มาตรฐานและสัญลักษณ์แบบในงานวิศวกรรม  การเขียนไดอะแกรม  สัญลักษณ์
นักศึกษาสามารถติต่อผู้สอน เพื่อขอคำปรึกษา หรือแนะนำ ได้ตลอดเวลา ด้วยตนเอง หรือโดยวิธีสื่อสารที่สะดวกดังนี้
สถานที่ติดต่อผู้สอน: ห้องสำนักงานคณะวิศวกรรมศาสตร์ ชั้น 4 อาคาร 7 ห้อง 741
โทร. 055 298438 ต่อ 1138  มือถือ  0894377350
โทรสาร. 055 298438
E-mail. songchanit@rmutl.ac.th  หรือ  songklod.sriwat@gmail.com
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
การปลูกฝังคุณธรรม  จริยธรรมผู้เรียนให้สัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรมนั้น
1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม
    เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง
   ตามลำดับความสำคัญ
4) เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้ง เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ
    เป็นมนุษย์
5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
6) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและ
   สิ่งแวดล้อม
7) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ
8) เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
โดยปลูกฝังความมีวินัย ใฝ่รู้ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และความมีน้ำใจ เช่น นักศึกษารู้หน้าที่ (เข้าเรียนตรงเวลา และครบถ้วนตามเกณฑ์) รู้กาละเทศ (แต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย เข้าห้องเรียนตรงเวลา แจ้ง และส่งใบลา  หากมีกิจธุระจำเป็น หรือเจ็บป่วย รักษามารยาทในสังคม เคารพสิทธิผู้อื่น
 เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ (เตรียมพร้อมก่อนเรียน ทราบหัวข้อที่จะเรียน และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ตอบคำถาม อภิปราย)  สามารถนำผลการเรียนรู้ไปประกอบวิชาชีพ หรือใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตน และผู้อื่น มีสำนึกไทย สำนึก และภาคภูมิใจใน
วิชาชีพ รู้จริยธรรมในวิชาชีพ ฯลฯ
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของรายวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ เพื่อให้เข้าใจง่าย นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติการจริง ใช้เครื่องมือด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง พัฒนาค้นหาความรู้ ในเรื่องที่ตนเองสนใจ ทักษะในกาปฏิบัติ และแก้ปัญหา ทักษะในการอภิปราย นำเสนอ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน โดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย
1) ทดสอบผู้เรียนก่อนเรียน เพื่อทราบพื้นฐาน หรือความแตกต่างของผู้เรียน เพื่อปรับเนื้อหา
   หรือวิธีการสอน
2) กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ โดยเริ่มจากการให้นักศึกษาทบทวน รู้จัก
   ตนเอง เตรียมพร้อม หรือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องของตนเอง (การเรียน และปรับตัวใน
   มหาวิทยาลัย คุณสมบัติของนักศึกษา และบัณฑิตที่พึงประสงค์ เก่ง ดี มีความสุข
   การสื่อสารและการสื่อความหมายทางวิศวกรรมการสร้างสรรความคิด การคำนวณทาง
   วิศวกรรมคอมพิวเตอร์กับงานวิศวกรรม นักศึกษากับการมีส่วนร่วมสร้างคุณภาพ วุฒิภาวะ
   ทางอารมณ์ และสังคม (EQ)การควบคุมการประกอบวิชาชีพ และจรรยาบรรณวิชาชีพ)
3) แบบทดสอบย่อย หรือการบ้าน ในแต่ละหัวข้อ หรือชั่วโมง
4) แบบทดสอบเชิงพฤติกรรม
5) ใช้ความสามารถ และเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา
มีกลยุทธ์การประเมินผล และทวนสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานจริง
1) มีการประเมินผลของรายวิชา
2) วิธีประเมินที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละหัวข้อ เช่น สอบข้อเขียน สอบปากเปล่า หรือ
    สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม ให้คะแนนโดยผู้ร่วมงาน รายงานกิจกรรม แฟ้มผลงาน การ
    ประเมินตนเองของผู้เรียน
3) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มารยาท
    ในสังคม)
4) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้เรียน
1) มีความรู้และความเข้าใจพื้นฐานการเขียนแบบ มาตรฐานสากลของการเขียนแบบ เพื่อ
   การประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทาง
   เทคโนโลยี
2) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของรายวิชาที่
   ศึกษา
3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
4) สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ใช้ในงานจริง
สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานที่ผู้เรียนสนใจ กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ เพื่อให้เข้าใจง่าย นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติการจริง ใช้เครื่องมือด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง
มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง พัฒนาค้นหาความรู้ ในเรื่องที่ตนเองสนใจ สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ  โดย
1) บรรยายในชั้นเรียน
2) ใช้สื่อการสอน (สรุปหัวข้อ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว แบบจำลอง)
3) เวบไซค์ และสื่อในเวบไซค์
4) สื่ออื่น ๆ ที่แนะนำโดยผู้สอน ในเอกสารการสอน และเวบไซค์
5) ถามตอบ หรืออภิปรายในชั้น เรียน
6) ทดสอบย่อย หรือการบ้าน ที่วัดความรู้จำ ความเข้าใจ การนำไปใช้
มีกลยุทธ์การประเมินผล และทวนสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานจริง
1) มีการประเมินผลของรายวิชา
2) มีวิธีประเมินที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละหัวข้อ เช่น สอบข้อเขียน สอบปากเปล่า หรือ
    สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม ให้คะแนนโดยผู้ร่วมงาน รายงานกิจกรรม แฟ้มผลงาน การ
    ประเมินตนเองของผู้เรียน
3) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้น เรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มารยาท
    ในสังคม)
4) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้เรียน
1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ
4) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเหมาะสมในการ
    พัฒนานวัตกรรมหรือองค์ความรู้ต่อยอดจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
5) สามารถค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการ
    เปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของรายวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ เพื่อให้เข้าใจง่าย นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติการจริง ใช้เครื่องมือด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง พัฒนาค้นหาความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ ทักษะในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ทักษะการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย
1) เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2) มีการบรรยายเนื้อหาหลักของรายวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ และ
   เน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงานที่ตนเองสนใจ
3) กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่ง
    ต่าง ๆ ในธรรมชาติ เพื่อให้เข้าใจง่าย นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
4) ให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติการจริง ใช้เครื่องมือด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ
5) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง
6) มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง พัฒนาค้น
    หาความรู้ สร้าง มีความรู้ในเรื่องที่สนใจ
มีกลยุทธ์การประเมินผล และทวนสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานจริง
1) มีการประเมินผลของรายวิชา
2) มีวิธีประเมินที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละหัวข้อ เช่น สอบข้อเขียน สอบปากเปล่า หรือ
    สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม ให้คะแนนโดยผู้ร่วมงาน รายงานกิจกรรม แฟ้มผลงาน การ
    ประเมินตนเองของผู้เรียน
3) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้น เรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มารยาท
    ในสังคม)
4) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้เรียน
1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลาย
2) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้ง งานบุคคล
   และงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้ง ในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี
   ประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
5) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน มีความสามารถค้นคว้าข้อมูล
    และใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1) เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2) ให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติการจริง ใช้เครื่องมือด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ
3) ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน การทำงานเป็นกลุ่ม
4) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง
5) มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปญั หาด้วยตนเอง พัฒนา
   ค้น หาความรู้ สร้าง มีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ ทักษะในการทดลองวิจัย และ
   แก้ปัญหา
มีกลยุทธ์การประเมินผล และทวนสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานจริง
1) มีการประเมินผลของรายวิชา
2) มีวิธีประเมินที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละหัวข้อ เช่น สอบข้อเขียน สอบปากเปล่า หรือ
    สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม ให้คะแนนโดยผู้ร่วมงาน รายงานกิจกรรม แฟ้มผลงาน การ
    ประเมินตนเองของผู้เรียน
3) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้น เรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มารยาท
    ในสังคม)
4) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
เพื่อให้ผู้เรียน
1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับการเขียนแบบ
2) สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง
   สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการ
   นำเสนออย่างเหมาะสม
4) สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
6) มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยรูปภาพ
7) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยในงานทางวิศวกรรมได้
1) เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2) ให้ผู้เรียนได้ทดลองปฏิบัติการจริง ใช้เครื่องมือด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ
3) ส่งเสริมการเรียนรู้ร่วมกัน การทำงานเป็นกลุ่ม
4) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง
5) มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง พัฒนา
   ค้นหาความรู้ สร้าง มีความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ ทักษะในการทดลองวิจัย และแก้ปัญหา
มีกลยุทธ์การประเมินผล และทวนสอบผลการเรียนรู้ตามมาตรฐานจริง
1) มีการประเมินผลของรายวิชา
2) มีวิธีประเมินที่เหมาะสมกับเนื้อหาแต่ละหัวข้อ เช่น สอบข้อเขียน สอบปากเปล่า หรือ
    สัมภาษณ์ สังเกตพฤติกรรม ให้คะแนนโดยผู้ร่วมงาน รายงานกิจกรรม แฟ้มผลงาน การ
    ประเมินตนเองของผู้เรียน
3) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้น เรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มารยาท
    ในสังคม)
4) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.4, 1.6, 2.1-2.5, 3.1,3.2, 3.5, 3.6, 5.1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 7 11 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6,2.1,2.3,2.4 ,3.2,4.1,5.1,5.3 - การนำเสนองานมอบหมาย - การทำงานกลุ่มและผลงาน - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 1.6, 2.1, 2.2, 2.4, 2.5, 3.1-3.5, 4.1-4.4, 5.1-5.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.  เอกสารและตำราหลัก
1 อำนวย  อุดมศรี  เขียนแบบทั่วไป 1 บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด  พิมพ์ครั้งที่ 4 เมษายน
   2554
2 จำรูญ ตันติพิศาลกุล. (รศ.) Engineering Drawing 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
  เกล้าธนบุรี.
3 เขียนแบบวิศวกรรม.  คณะเทคโนโลยีและนวัตกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  พฤศจิกายน 2552
          4 จิรพงศ์ กสิวิทย์อำนวย (ผศ.) คู่มือเอกสารประกอบคำบรรยาย พื้นฐาน
            การเขียนแบบวิศวกรรม (Engineering Drawing  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  ถ. พญาไท
            เขตปทุมวัน กรุงเทพ
          5 เฉลิมชนม์  ไวศยดำรง (ผศ.). คณะวิศซกรรมศาสตร์ ม.การค้าไทย
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยผู้เรียน ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากผู้เรียนได้ดังนี้
          - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนอย่างไม่เป็นทางการในระหว่างการจัดการเรียนการสอน
          - การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
          - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาโดยระบบออนไลน์
- จัดประชุมระดมความคิดเห็นจากคณาจารย์ผู้สอนร่วมกันเป็นทีม และผู้สอนรายวิชาเดียวกันในกลุ่ม
          - รับฟังความคิดเห็นจากผู้เรียนในระหว่างจัดการเรียนการสอนหรือช่องทางอื่น และเมื่อสิ้นสุดการจัดการเรียนการสอน
          - ผลการเรียนของผู้เรียน
          - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- นำผลจาการประเมินมาใช้ปรับปรุงการสอน
          - กลุ่มคณากจารย์ผู้สอนจัดอภิปรายเพื่อพัฒนารายวิชาให้มีสาระวิชาและแนวทางการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมและน่าสนใจ
- มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นิสิต เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนการเรียนรู้ของตนเองเป็นระยะๆ
- ให้นิสิตได้มีโอกาสตรวจสอบคะแนน
- การพิจารณาผลการเรียนของนิสิตในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมินพฤติกรรมของนิสิต
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ