การวางแผนธุรกิจค้าปลีก

Retail Business Planning

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาพรวมของการวางแผนการตลาด จริยธรรมทางธุรกิจ กลยุทธ์การตลาด การวิเคราะห์สถานการณ์ SWOT Analysis การจัดการด้านการผลิต การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ การจัดการด้านการบัญชีและการเงิน กลยุทธ์การตลาดแบบสร้างสัมพันธ์ การจัดการประสบการณ์ลูกค้า การสื่อสารด้านการตลาดแบบครบวงจร การรับผิดชอบต่อสังคม และตัวอย่างแผนการตลาด
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในเรื่องความสำคัญและบทบาทของการวางแผนการตลาด 2. เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงกระบวนการวางแผนทางการตลาด และการสร้างกลยุทธ์ทางการตลาด 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ ไปประยุกต์ใช้เพื่อการวางแผนทางการตลาดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้นักศึกษารับรู้และตอบสนองในด้านความรับผิดชอบ ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ ในการ
เรียนและการทำงาน 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถทำงานทำงานร่วมกับผู้อื่น ใจกว้างและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้
 
ศึกษาความหมายของบทบาท และความสำคัญของกลยุทธ์การตลาด การเลือกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับตลาดในภาวะต่างๆ โดยวิเคราะห์สภาพแวด้ล้อมภายในและภายนอกธุรกิจ และพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดที่บูรณาการหน้าที่การงานการตลาดและหน้าที่อื่นๆ ของธุรกิจได้
อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านการประชาสัมพันธ์ในห้องเรียน และผ่านเว็บ ไซต์รายวิชาที่อาจารย์ประจำวิชาได้สร้างขึ้น อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

(1) มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวม
(2) มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกัน
(3) มีความเคารพต่อกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม
(4) มีจิตสำนึกและมโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดี และความชั่ว

มีภาวะผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งในการทำงานเป็นกลุ่มได้ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพและตระหนักถึงการวางแผนการตลาดที่คำนึงถึงผลประโยชน์ของ ผู้บริโภคเป็นหลัก และคำนึงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดขององค์กรด้วย
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างจากสถานการณ์จริง ฝึกวิเคราะห์และตอบคำถามจากกรณีศึกษาในชั้นเรียน
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การตอบคำถามและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม

ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
มีความรู้ในหลักการ ความสาคัญ เกี่ยวกับภาพรวมของการวางแผนการตลาด จริยธรรมทางธุรกิจ กลยุทธ์การตลาด การวิเคราะห์สถานการณ์ SWOT Analysis การจัดการด้านการผลิต การจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ การจัดการด้านการบัญชีและการเงิน กลยุทธ์การตลาดแบบสร้างสัมพันธ์ การจัดการประสบการณ์ลูกค้า การสื่อสารด้านการตลาดแบบครบวงจร การรับผิดชอบต่อสังคม และตัวอย่างแผนการตลาด
 
การสอนโดยการบรรยาย และใช้สื่อประกอบการสอน เช่น ตำรา เอกสารประกอบ PowerPoint เป็นต้น การอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้และตามด้วยตัวอย่างในการศึกษา การทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา การบ้าน และการทำกิจกรรมของนักศึกษา
การวิเคราะห์ผลการทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา การบ้าน และการทำกิจกรรม ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิมสามารถ บูรณาการความรู้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคและประสบการณ์เพื่อให้เกิดนวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางในการบริหารธุรกิจ ใหม่ ๆ สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการ

วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค แก้ไขปัญหาและการตัดสินใจอย่างเหมาะสม

สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือก และผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์ มาประยุกต์ใช้
การสอนโดยการบรรยาย และใช้สื่อประกอบการสอน เช่น ตำรา เอกสารประกอบ PowerPoint เป็นต้น การอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้และตามด้วยตัวอย่างในการศึกษา การทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา การบ้าน และการทำกิจกรรมของนักศึกษา
การวิเคราะห์ผลการทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา การบ้าน และการทำกิจกรรม ทดสอบย่อย สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์

ความรู้ที่ศึกษาและสภาพเนื้อหาในบทเรียนที่ได้ศึกษา
(1) มีความสามารถในการประสานงานมีมนุษยสัมพันธ์และ สามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู้อื่น
(2) มีความกระตือรือร้น สามารถทำงานเป็นกลุ่ม และสามารถแสดงภาวะผู้นำ ผู้ตามได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนมีความรับผิดชอบต่องาน
(3) มีความคิดริเริ่มและมีความคิดเห็นที่มีความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
การสอนโดยการบรรยาย และใช้สื่อประกอบการสอน เช่น ตำรา เอกสารประกอบ

PowerPoint เป็นต้น

การอภิปรายประเด็นสำคัญที่เกี่ยวข้องกับสาระการเรียนรู้และตามด้วยตัวอย่าง ในการศึกษา การทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา การบ้าน และการทำกิจกรรมของนักศึกษา
ประเมินพฤติกรรมในห้องเรียน และการทำกิจกรรมกลุ่ม การมีส่วนร่วมในการอภิปราย การวิเคราะห์ผลการทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา การบ้าน และการทำกิจกรรม ทดสอบย่อย สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ
(3) สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจอย่างถูกต้องทั้งในรูป แบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจา
(4) สามารถนำเทคโนโลยีไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนในการดำเนินงาน และทราบถึงข้อจำกัดของเทคโนโลยี
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยเน้นการนำข้อมูล จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ จากการสังเกตการณ์ และสามารถนำเสนอโดยใช้รูปแบบ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
การวิเคราะห์ผลการทำแบบฝึกหัด กรณีศึกษา การบ้าน และการทำกิจกรรม ทดสอบย่อย สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ การมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 8 16 30% 30%
2 แบบฝึกหัด การวิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) ตลอด ภาคการศึกษา 30
3 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม การสังเกตพฤติกรรม และผลการปฏิบัติระหว่างเรียน ตลอด ภาคการศึกษา 10
เพลินพิศ โกมลโสภา : การวางแผนการตลาด,โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มาหาวิทยาลัย, 2554. เสรี วงษ์มณฑา.กลยุทธ์การตลาด : การวางแผนการตลาด, Diamond in Business World
กรุงเทพฯ , 2542. Ferrell, Lucas and Luck: Strategic Marketing Management : Text and Cases, South-
Western Publishing Co, 1994. Marian Burk Wood : The Marketing Plan, Pentice-Hall, 2002. Subhash C.Jain : Marketing : Planning & Strategy, Thomson Custom Publishing, 2004.
พงษ์เทพ จันทสุวรรณ การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ ม.ป.ป
เพลินทิพย์ โกเมศโสภา. การวางแผนการตลาด
Philip Kotler. Principle of Marketing ฉบับมาตรฐาน. เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น ดินโดไชน่า. 2546.
ธนวรรณ แสงสุวรรณและคณะ. การบริหารการตลาด. เอ็กซเปอร์เน็ท จากัด. กรุงเทพฯ,2545.
พิบูล ปะปาล. การบริหารการตลาด. อมรการพพิมพ์. กรุงเทพฯ, 2535.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. การบริการการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 10. สานักพิมพ์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2535.
ปริญ ลักษิตานนท์. จิตวิทยาและพฤติกรรมผู้บริโภค. บริษัท ทิปปิ้ง พอยท์ จากัด. กรุงเทพฯ, 2544.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. กลยุทธ์การตลาด. สานักพิมพ์พัฒนาศึกษา. กรุงเทพฯ, 2539.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. การบริหารการตลาดยุคใหม่. ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์ จากัด, กรุงเทพฯ, 2546.
ศรีสุภา สหชัยเสรี. การบริหารการตลาดในยุคเศรษฐกิจใหม่. บริษัท ทิปปิ้ง พอยท์ จากัด. กรุงเทพฯ, 2546.
นิตยสารและเว็บไซต์เพิ่มเติมในการทำรายงาน เช่น นิตยสาร Positioning และ S + M Magazine
 
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษาได้มีการจัดกิจกรรมในการนำเสนอแนวความคิดและความคิดเห็น ดังนี้
- การสนทนากลุ่มและการตอบประเด็นซักถามระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอนที่คณะจัดทาขึ้น
- สังเกตพฤติกรรมกลุ่มและรายบุคคล
ผลการสอบ การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การประเมินผู้สอนและผู้เรียนรายวิชาเช่น การทดสอบระหว่างเรียน สังเกตปฏิกิริยา feed back ของนักศึกษาที่มีต่ออาจารย์
หลังจากได้มีการดาเนินการสอนไปแล้วในหน่วยที่ 4 จึงได้มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
-โดยการให้ใบงาน ให้นักศึกษารวมกลุ่มและระดมสมองกันว่าจะทำแผนธุรกิจอะไรและ
ให้หาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้ -หาผ่าน web site และ ไปหาข้อมูลจากผู้ประกอบการในชุมชน
- ให้วิเคราะห์กรณีศึกษา โดยการรวมกลุ่มและระดมความคิด โดยให้หาข้อมูลในห้องสมุด
หรือ web site
ในระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ได้มีการทบทวนโดยการสอบในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน สอบถามนักศึกษา ตรวจผลงานนักศึกษา สอบระหว่างภาคเรียนและปลายภาคเรียน และหลังจากนั้นได้มีการออกผลการเรียนโดยมีการตรวจข้อสอบแล้วให้คะแนนโดยอาจารย์ผู้สอนผ่านไปยังหัวหน้าภาค, รองคณบดีฝ่ายวิชาการ,คณบดี
จากผลการประเมินและทวนผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาของนักศึกษา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดรายวิชา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงแนวการสอนและวิธีการสอนทุก ๆ ภาคเรียนเพ่อให้นักศึกษาไม่เกิดความเบื่อหน่าย
- ปรับปรุงหลักสูตร/รายวิชาทุก ๆ 4 ปี เพื่อให้ทันสมัยและตรงกับตลาดแรงงาน
- ปรับเปลี่ยนผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมอง ทัศนคติ มีแนวคิดใหม่ ๆ จากผู้สอนหลาย ๆ ท่าน
- ผู้สอนต้องกระตือรือร้นในการค้นหาสิ่งแปลก ๆ ใหม่ ๆ ให้กับนักศึกษาอยู่ตลอดเวลา